คลังข้อสอบ


ขณะนี้คลังข้อสอบประจำปี 54 อยู่ในระหว่างการดำเนินการ  อดใจรอสักระยะครับหรือลงชื่อสมัครเป็นผู้ติดตามทางด้านขวามือของเวปไว้ครับเวลามีข้อมูลอะไรเพิ่มเติมจะได้รับทราบข้อมูลได้
 
ธนาคารข้อสอบ
หลักสูตรการฝึกนักศึกษาวิชาทหาร  ชั้นปีที่  3  ชาย
จงเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียง  1  ข้อ
วิชา  การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
1.  อักษรประจำจัตุรัสแสนเมตรที่ใช้กับพิกัด UTM เช่น
                ก.  Z – RTSD                                                                    ข.  7017
                ค.  47 P                                                                              ง.  QP
2.  เลขอักษรประจำเขตกริดโซนที่ใช้กับพิกัดกริด  UTM เช่น
                ก.  4837  II                                                                        ข.  47 N
                ค.  L 7017                                                                         ง.  K – RTSD
3.  เส้นกริดบนแผนที่  มาตราส่วน  1 : 50,000  เมื่อหมู่เส้นกริดตัดกันจะเกิดเป็นสี่เหลี่ยม  เรียกว่า
                ก.  สี่เหลี่ยมผืนผ้า                                                            ข.  สี่เหลี่ยมด้านเท่า
                ค.  สี่เหลี่ยมจัตุรัสกริด                                                     ง.  สี่เหลี่ยมมุมฉาก
4.  การอ่านพิกัดกริด  UTM  ด้วยเส้นกริดตั้งและกริดนอนอ่านดังนี้
                ก.  อ่านไปทางขวาแล้วลงล่าง                                       ข.  อ่านไปทางขวาแล้วขึ้นบน
                ค.  อ่านไปทางซ้ายแล้วลงล่าง                                       ง.  อ่านไปทางซ้ายแล้วลงล่าง
5.  ระบบกริด  UTM ที่ใช้ทำแผนที่โลกจะใช้ระหว่างละติจูด
                ก.  80  องศาใต้ 84  องศาเหนือ                                  ข.  80  องศาเหนือ 84  องศาใต้
                ค.  80  องศาใต้ 80  องศาเหนือ                                  ง.  84  องศาเหนือ 84  องศาใต้
6.  ระบบกริด  UTM  แบ่งตามลองติจูดระหว่าง
                ก.  180  องศาตะวันออก 180  องศาตะวันตก
                ข.  90  องศาตะวันออก 90  องศาตะวันตก
                ค.  90  องศาตะวันออก 180  องศาตะวันตก
                ง.  180  องศาตะวันออก 90  องศาตะวันตก
7.  ในแต่ละกริดโซนจะกำหนดแบ่งตามความกว้างและความยาวไว้ดังนี้
                ก.  กว้าง  6  องศา  ยาว  8  องศา                                    ข.  กว้าง  8  องศา  ยาว  6  องศา
                ค.  กว้าง  10  องศา  ยาว  6  องศา                                  ง.  กว้าง  6  องศา  ยาว  10  องศา
8.  หากอ่านพิกัดเป็นตังเลข  6  ตัว  ใกล้เคียงระยะใด
                ก.  10  เมตร                                                                       ข.  100  เมตร
                ค.  1,000  เมตร                                                                 ง.  10,000  เมตร
9.  หากอ่านพิกัดอยู่ในระยะ  10  เมตร  จะอ่านตัวเลขดังนี้
                ก.  4  ตัว                                                                             ข.  6  ตัว
                ค.  8  ตัว                                                                             ง.  10  ตัว
10.  การอ่านพิกัดให้ทราบถึงกริดโซนจัตุรัสแสนเมตรและพิกัด  4  ตัว  ดังนี้
                ก.  Q 467984                                                                    ข.  QP  467984
                ค.  47 P QP 467938                                                        ง.  467984
11.  เส้นชั้นความสูง  แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
                ก.  3  ประเภท                                                                   ข.  4  ประเภท
                ค.  5  ประเภท                                                                   ง.  6  ประเภท
12.  เส้นชั้นความสูงที่มีสีน้ำตาลเข้มและมีเลขบอกอยู่หมายถึง
                ก.  เส้นหลัก                                                                      ข.  เส้นรอง
                ค.  เส้นแทรก                                                                    ง. เส้นดีเพรสชั่น
13.  เส้นชั้นความสูงในที่เล็กที่สุดและมีกากบาทกับตัวเลข  หมายถึง
                ก.  สันเขา                                                                          ข.  หุบเขา
                ค.  ยอดเขา                                                                         ง.  คอเขา
14.  เส้นชั้นความสูงจะมีช่วงต่างห่างกันดังนี้
                ก.  10  เมตร                                                                       ข.  15   เมตร
                ค.  20  เมตร                                                                       ง.  30  เมตร
15.  พื้นเอียงซึ่งทำมุมกับพื้นระดับ  หมายถึง
                ก.  หุบเขา                                                                          ข.  ร่องเขา
ค.  สันเขา                                                                                          ง.  ลาด
16.  ทิศทางหลักมีอยู่  3  ทิศทาง  ดังนี้
                ก.  ทิศเหนือจริง                                                               ข.  ทิศเหนือกริด
                ค.  ทิศเหนือแม่เหล็ก                                                       ง.  ถูกทุกข้อ
17.  ทิศเหนือที่อยู่บนแผนที่ด้วเส้นกริดตั้งเรียกว่า
                ก.  ทิศเหนือจริง                                                               ข.  ทิศเหนือกริด
                ค.  ทิศเหนือแม่เหล็ก                                                       ง.  ทิศเหนือ
18.  การเดินด้วยเข็มทิศในเวลากลางวันเมื่อผ่านเครื่องกีดขวางจะปฏิบัติดังนี้
                ก.  หักขวา + 90  องศา , หักซ้าย  +  90  องศา                
                ข.  หักขวา + 90 องศา , หักซ้าย 90 องศา
                ค.  หักขวา + 180 องศา , หักซ้าย 180 องศา                
                ง.  หักขวา 180 องศา , หักซ้าย 180 องศา





19.  มุมภาคทิศเหนือกลับหรือมุมตรงกันข้ามมีหลักเกณฑ์การติดค่าดังนี้
                ก.  มุมเกิน  180  องศา  เอา  180  องศา ไปลบ              
                     มุมไม่เกิน  180  องศา  เอา  180  องศา  ไปบวก              
ข.       มุมเกิน  180  องศา  เอา  90  องศา  ไปลบ
มุมไม่เกิน180  องศา  เอา  90  องศา ไปบวก
                ค.  มุมเกิน  180  องศา  เอาไปลบออกจาก  360  องศา
                    มุมไม่เกิน  180  องศา  เอา  360  องศา ไปบวก
                ง.  มุมเกิน  180  องศา  เอาไปลบออกจาก  270  องศา
                   มุมไม่เกิน  180  องศา  เอา  270  องศา  ไปบวก
20.  การวางแผนที่ให้ถูกทิศโดยใช้เข็มทิศจะต้องวางเข้มทิศบน ผท.  ดังนี้
                ก.  เอาขอบด้านตรงทับเส้นกริดนอนบน  ผท.           ข.  เอาขอบด้านตรงทับเส้นกริดตั้งบน  ผท.
                ค.  เอาหัวลูกศรทับเส้นกริดนอนบน ผท.                    ง.  เอาขีดพรายน้ำทับเส้นกริดนอนบน ผท.
21.  การใช้แผ่นวัดมุม P 67  บริเวณส่วนโค้งจะบอกค่าของมุมอยู่ดังนี้  คือ
                ก.  วงนอก  0 180  องศา , วงใน 180  องศา 360  องศา
                ข.  วงนอก 0 90  องศา , วงใน  90 องศา 180  องศา
                ค.  วงใน  0 180  องศา , วงนอก 180  องศา 360  องศา
                ง.  วงใน  0 90  องศา , วงนอก  90  องศา 180  องศา
22.  การกำหนดจุดที่อยู่ตนเองลงบนแผนที่  โดยใช้เข็มทิศด้วยวิธีการเล็งสกัดกลับ  มีข้อหนึ่งให้เลือกจุดเด่นเพื่อวัดมุมจะใช้กี่จุด
                ก.  1  จุด                                                                             ข.  2  จุด                    
                ค.  3  จุด                                                                             ง.  4  จุด
23.  การแปลงค่าเป็มมุมกลับหรือตรงกันข้าม  ถ้ามุม  275  องศา  มุมกลับ คือ
                ก.  375  องศา                                                                    ข.  105  องศา                           
                ค.  85  องศา                                                                      ง.  95  องศา
24.  การเล็งสกัดกลับประกอบแนวจะใช้จุดเด่นเพียงจุดเดียวแต่ต้องอาศัยแนวอะไร
                ก.  แนวลำน้ำ                                                                    ข.  แนวถนน
                ค.  แนวทางรถไฟ                                                            ง.  ถูกทุกข้อ
วิชา  แบบธรรมเนียมทหาร
25.  ข้อใดไม่ใช่สิทธิของ  นศท.ชั้นปีที่  ๓
                ก.  การขอยกเว้นไม่เรียกเข้ากองประจำการในยามปกติ
                ข.  การดำเนินการขึ้นทะเบียนกองประจำการแล้วนำปลดเป็นกองหนุน
                ค.  การได้หนังสือรับรองวิทยะฐานะ
                ง.  การเรียนฟรีตามเหล่าต่าง ๆในหน่วยทหาร

26.  เหล่าของทหารกองหนุนมีทั้งหมดกี่เหล่า
                ก.  ๑๕  เหล่า                                                                     ข.  ๑๖  เหล่า                            
                ค.  ๑๗  เหล่า                                                                     ง.  ๑๘  เหล่า
27.  กองทัพบก ( ทบ. ) แบ่งการปกครองพื้นที่ทหารกี่ตามทัพภาค
                ก.  ๑  ทัพภาค                                                                    ข.  ๒  ทัพภาค                         
                ค.  ๓  ทัพภาค                                                                   ง.  ๔   ทัพภาค
28.  กรุงเทพมหานคร , สมุทรปราการ , สมุทรสาคร , นครปฐม , นนทบุรี , ปทุมธานี  สังกัดอยู่หน่วยงานใด
                ก.  จังหวัดทหารบกกรุงเทพ                                          ข.  จังหวัดทหารบกสมุทรปราการ
                ค.  จังหวัดทหารบกที่  ๑                                                 ง.  จังหวัดทหารบกที่  ๑๑
29.  กองทัพภาคที่  ๑ อยู่  ณ  จังหวัดใด
                ก.  กรุงเทพมหานคร                                                       ข.  ฉะเชิงเทรา
                ค.  สกลนคร                                                                      ง.  ยโสธร
30.  กองทัพภาคที่  ๒  ตั้งอยู่  ณ  จังหวัดใด
                ก.  นครราชสีมา                                                               ข.  เพชรบุรี
                ค.  กาญจนบุรี                                                                   ง.  ชลบุรี
31.  กองทัพภาคที่  ๓  ตั้งอยู่  ณ  จังหวัดใด
                ก.  ตรัง                                                                               ข.  ยะลา
                ค.  สมุทรสาคร                                                                 ง.  พิษณุโลก
32.  กองทัพภาคที่  ๔  ตั้งอยู่  ณ  จังหวัดใด
                ก.  เพชรบุรี                                                                       ข.  แพร่
                ค.  นครศรีธรรมราช                                                        ง.  เชียงราย
33.  เหตุใด  จทบ.ท.ส.  ( อ.ทุ่งสง )  ถึงต้องแยกตัวออกมาจากจังหวัดนครศรีธรรมราช
                ก.  เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัด                                        ข.  จำนวนทหารกองเกินเยอะ
                ค.  ต้องการความเป็นอิสระ                                            ง.  ต้องการความแตกต่างจากที่อื่น
34.  มณฑลทหารบก  เป็นหน่วยขึ้นตรงต่อที่ใด
                ก.  โรงเรียนรักษาดินแดน                                             ข.  กองทัพภาค
                ค.  สัสดีจังหวัด                                                                 ง.  สัสดีอำเภอ
35.  มณฑลทหารบกมีผู้ใดเป็นผู้บังคับบัญชา
                ก.  แม่ทัพภาค                                                                   ข.  ผู้บังคับหมวด
                ค.  ผู้บังคับบัญชากองพัน                                               ง.  ผู้บังคับบัญชาหน่วย
36.  มณฑลทหารบกที่  ๑๑  ตั้งอยู่ที่จังหวัดใด
                ก.  กรุงเทพมหานคร                                                       ข.  อยุธยา
                ค.  ปทุมธานี                                                                      ง.  นนทบุรี

37.  มณฑลทหารบกที่  ๒๒  ตั้งอยู่ที่จังหวัดใด
                ก.  นครราชสีมา                                                               ข.  อุบลราชธานี
                ค.  ขอนแก่น                                                                     ง.  ชัยภูมิ
38.  มณฑลทหารบกที่  ๓๓  ตั้งอยู่ที่จังหวัดใด
                ก.  ปัตตานี                                                                         ข.  ยะลา
                ค.  เชียงใหม่                                                                     ง.  ลำปาง
39.  ค่ายกำแพงเพชรอัครโยธิน  สังกัดอยู่กองทัพภาคที่เท่าไร
                ก.  กองทัพภาคที่  ๑                                                         ข.  กองทัพภาคที่  ๒                                               
                ค.  กองทัพภาคที่  ๓                                                        ง.  กองทัพภาคที่  ๔
40.  ค่ายพหลโยธิน  ตั้งอยู่จังหวัดใด
                ก.  กรุงเทพฯ                                                                     ข.  ลพบุรี
                ค.  สิงห์บุรี                                                                        ง.  อยุธยา
41.  ค่ายสมเด็จพระนั่งเกล้า  ตั้งอยู่ในจังหวัดใด
                ก.  ฉะเชิงเทรา                                                                 ข.  กรุงเทพฯ
                ค.  เพชรบุรี                                                                       ง.  ลพบุรี
42.  ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช  ตั้งอยู่ในจังหวัดใด
                ก.  พิษณุโลก                                                                     ข.  ตราด
                ค.  ตาก                                                                               ง.  เพชรบุรี
43.  ค่ายวิภาวดีรังสิต  ตั้งอยู่  ณ  จังหวัดใด
                ก.  กรุงเทพฯ                                                                     ข.  สุราษฎร์ธานี
                ค.  ปราจีนบุรี                                                                    ง.  สิงห์บุรี
44.  ค่ายสิรินธร  ตั้งอยู่  ณ  จังหวัดใด
                ก.  กรุงเทพฯ                                                                     ข.  ปทุมธานี
                ค.  สมุทรสาคร                                                                 ง.  ปัตตานี
45.  ในแบบธรรมเนียมประเพณีทหารเรือ  เมื่อต้องมีการสละเรือใหญ่  ผู้ใดจะเป็นผู้ลงเรือคนสุดท้าย
                ก.  กะลาสี                                                                         ข.  สตรีและเด็ก
                ค.  ผู้บังคับการเรือ                                                           ง.  ลูกเรือทั้งหมด
46.  ข้อใดให้คำจำกัดความ การแสดงการเคารพ  ได้ชัดเจนมากที่สุด
                ก.  แบบธรรมเนียมที่แสดงให้รู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน
                ข.  เป็นเครื่องบำรุงความสามัคคี
                ค.  เป็นเครื่องแสดงวินัยในหมู่ทหาร
                ง.  ถูกทุกข้อ


47.  เมื่อ  นศท.อยู่ในอาคารและผู้บังคับบัญชา  การแสดงการเคารพจะทำได้ในลักษณะใด  จึงจะถูกต้องตามแบบธรรมเนียมทหาร
                ก.  ยืนตรงพร้อมกับกล่าว  สวัสดีครับ ค่ะ”            ข.  ทำวันทยาหัตถ์
                ค.  ยกมือไหว้ กล่าว สวัสดีครับ ค่ะ                       ง.  เดินผ่านไปเฉย ๆ
48.  เมื่อใดที่ทหารไม่ต้องแสดงการเคารพ
                ก.  เมื่อเจอผู้บังคับบัญชา                                                ข.  เมื่อเห็นธงชัยเฉลมพลผ่าน
                ค.  เมื่อได้ยินเพลงชาติ                                                    ง.  เมื่อมีหน้าที่ต้องประจำขบวนหรือพิธีใด ๆ
วิชา การกำลังสำรอง  
49. นโยบายรัฐบาลด้านความมั่นคงด้านการทหารคือส่งเสริมสนับสนุนให้กองทัพปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างของกองทัพให้กะทัดรัด  แต่ทันสมัย  พัฒนากำลังพลสำรอง  ให้หวังผลในทางปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม
ในด้านใดบ้าง ?
                ก. การทดแทนกำลังพลประจำการ                               ข. การทดแทนการสูญเสีย
                ค. การขยายกำลังยามสงคราม                                       ง.  ถูกทุกข้อ
50.  นโยบาย ทบ.ดำเนินการด้านระบบกำลังสำรองให้บรรลุเป้าหมายอย่างไร  ?
                ก. ปฏิบัติหน้าที่แทนกำลังประจำการได้                     ข.พร้อมรบใน ๗๒ ชม.เมื่อเรียกหรือระดมพล
                ค.ร่วมรบกับกำลังประจำการได้                                    ง. ไม่มีข้อใดถูก
51. ในปี พ.ศ.๒๕๓๔ ทบ.ได้นำระบบกำลังสำรองใดมาใช้ ?
                ก. ระบบ   ๓ : : ๔                                                        ข. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรอง
                ค. ระบบ  ๑ : : : ๓                                                     ง.  ระบบการเรียกพลและระดมพล
52.  ทบ.ได้พัฒนาระบบกำลังสำรองจากเดิมเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๔ มาเป็นระบบใหม่เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๗
คือกำลังสำรองระบบใด ?
                ก. ระบบ   ๓ : : ๔                                                        ข. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรอง
                ค. ระบบ  ๑ : : : ๓                                                     ง.  ระบบการเรียกพลและระดมพล
53.  โครงสร้างกองทัพบกแบ่งส่วนราชการออกเป็น ๗ ส่วนราชการ และมีหน่วยทหารที่เกี่ยวข้องกับระบบกำลังสำรองใหม่ ในการจัดเตรียม และการใช้กำลังทางบก หน่วยทหารที่เกี่ยวข้องมีหน่วยใด  ?
                ก.  หน่วยกำลังประจำการ                                                 
                ข.  หน่วยในระบบกำลังสำรอง
                ค.  หน่วยที่ทำหน้าที่สนับสนุนกำลังประจำการเสริม 
                ง.  ถูกทุกข้อ
54.  ประเภทกำลังพลสำรองตามระบบ  ๑ : : : ๓  แบ่งเป็น ๔ ประเภทตามตัวเลข หมายถึงจำนวนปี
ที่เข้าสู่ระบบ อยากทราบว่า เลข ๑ ตัวที่ ๓ ซึ่งหมายถึงกำลังพลสำรองประเภทที่ ๓ เรียกว่าอะไร.  ?
                ก.  กำลังพลสำรองเตรียมพร้อม                                    ข.  กำลังพลสำรองขั้นต้น
                ค.  กำลังพลสำรองทั่วไป                                                ง.   กำลังพลสำรองพร้อมรบ
55.  กำลังพลสำรองประเภททั่วไป ๓ รุ่นปี (บัญชี ๔, ๕, และ ๖)  รุ่นที่ ๑ และ ๒ (บัญชี ๔ และ ๕) บรรจุ
ให้กับ  พล.ร.หนุน และหน่วยสนับสนุนการรบ  อยากทราบว่า รุ่นที่ ๓ (บัญชี ๖) บรรจุให้กับหน่วยใด  ?
                ก.  หน่วยพร้อมรบระดับ ๑                                            ข.  ศฝ.กทท.ทภ.
                ค.  หน่วยพร้อมรบระดับ ๒                                           ง.  หน่วยที่ใช้อัตราโครง
56.  ระบบ  ๑ : : : ๓ ประกอบด้วยระบบย่อย ๕ ระบบ อยากทราบว่าระบบการผลิตกำลังพลสำรอง
ประเภทนายทหารสัญญาบัตร และนายทหารประทวน ได้มาจากที่ใด  ?
                ก.  พ.ร.บ.รับราชการทหาร                                            ข.  กำลังพลประจำการ
                ค.  นักศึกษาวิชาทหาร                                                    ง.  ไม่มีข้อใดถูก
57.  ระบบ  ๑ : : : ๓ ประกอบด้วยระบบย่อย ๕ ระบบ อยากทราบว่าระบบการผลิตกำลังพลสำรอง
ประเภทนายทหารประทวนและ พลทหาร ได้มาจากที่ใด  ?
                ก.  พ.ร.บ.รับราชการทหาร                                            ข.  กำลังพลประจำการ
                ค.  นักศึกษาวิชาทหาร                                                    ง.  ไม่มีข้อใดถูก
58. ในระบบการฝึกศึกษา  กำลังพลสำรองขั้นต้น จะเข้ารับการฝึกอบรม เฉพาะหน้าที่ (ฝึก ชกท.) เฉพาะ
วัน เสาร์ - อาทิตย์  เป็นเวลาเท่าใด  ?
                ก.  ๘๐  วัน                                                                        ข.  ๘๐    ช.ม.
                ค.  ๑๐  วัน                                                                         ง.   ๒๐   ช.ม.           
59. การใช้กำลังพลสำรอง ใช้ตามความมุ่งหมาย  อยากทราบว่า  ใช้เพื่อทดแทนการสูญเสีย  
ใช้กำลังพลสำรองประเภทใด  ?
                ก.  กำลังพลสำรองขั้นต้น                                              ข.  กำลังพลสำรองพร้อมรบ
                ค.  กำลังพลสำรองเตรียมพร้อม                                    ง.  กำลังพลสำรองทั่วไป  ๓  รุ่นปี
60. การใช้กำลังพลสำรอง ใช้ตามความมุ่งหมาย  อยากทราบว่า  ใช้เพื่อขยายกำลังจัดตั้งหน่วยใหม่  
ใช้กำลังพลสำรองประเภทใด  ?
                ก.  กำลังพลสำรองขั้นต้น                                              ข.  กำลังพลสำรองพร้อมรบ
                ค.  กำลังพลสำรองเตรียมพร้อม                                    ง.  กำลังพลสำรองทั่วไป  ๓  รุ่นปี
61. การเตรียมพลเป็นการเรียก ๔ ประเภทคือ  เรียกพลเพื่อตรวจสอบ, เรียกพลเพื่อฝึกศึกษาวิชาทหาร, เรียกพล
เพื่อทดลองความพรั่งพร้อม และการระดมพล อยากทราบว่า  ใครมีอำนาจในการเรียกพลเพื่อทดลองความพรั่งพร้อม  ?
                ก.  ผบ. จทบ.                                             ข.  ผบ. มทบ.
                ค.  ผบ. ทบ.                                               ง.  พระราชกฤษฎีกาโดยมี รมว.กห.เป็นผู้ดำเนินการ
62. การเตรียมพลเป็นการเรียก ๔ ประเภทคือ  เรียกพลเพื่อตรวจสอบ, เรียกพลเพื่อฝึกศึกษาวิชาทหาร, เรียกพลเพื่อทดลองความพรั่งพร้อม และการระดมพล อยากทราบว่า  ใครมีอำนาจในการระดมพล  ?
                ก.  ผบ. จทบ.                                             ข.  ผบ. มทบ.
                ค.  ผบ. ทบ.                                               ง.  พระราชกฤษฎีกาโดยมี รมว.กห.เป็นผู้ดำเนินการ
63. สิทธิกำลังพลสำรองในการเลื่อนยศ  กำลังพลสำรองมีสิทธิเลื่อนยศได้ไม่เกินชั้นยศใด  ?
                ก.  สิบเอก                                                                          ข.  พันตรี
                ค.  ร้อยเอก                                                                        ง.   จ่าสิบเอก
64. หน้าที่กำลังพลสำรอง  นายทหารประทวนกองหนุนและพลทหารกองหนุน หากมีการเปลี่ยนชื่อตัว,
ชื่อสกุล หรือทั้งชื่อตัวและชื่อสกุล ให้นำหลักฐานไปแจ้งต่อนายอำเภอท้องที่ ภายในกี่วันตั้งแต่วันได้รับอนุญาต
                ก.  ๓๐  วัน                                                                        ข.  ๑๕  วัน
                ค.  ๔๕  วัน                                                                       ง.  ๗  วัน
วิชา  การข่าวเบื้องต้น
65. วงรอบข่าวกรองแบ่งออกเป็นกี่ขั้นตอน ?
                   ขั้นตอน                                                                   ขั้นตอน
                   ขั้นตอน                                                                    ขั้นตอน
66. กรรมวิธีในการดำเนินการเกี่ยวกับข่าวสารให้เป็นข่าวกรองทางทหารเรียกว่าอะไร ?
.   ข่าวทางทหาร                                                            ชั้นความลับ
ค.       วงรอบข่าวกรอง                                                      การข่าวกรอง
67การแสวหาผลประโยชน์ จากแหล่งข่าวของเจ้าหน้าที่หมายถึงข้อใด ?
ก.       การรวบรวมข่าวสาร                                                . วงรอบข่าวกรอง
.   การดำเนินกรรมวิธี                                                   .   การกระจายและการใช้
68การจัดระเบียบข่าวสารที่ได้รับจากรายงานและเหตุการณ์เรียกว่าอะไร ?
ก.       ประเมินผล                                                               การวิเคราะห์
ก.       การตีความ                                                                 การบันทึก
69.   การการพิจารณาเหตุผลจากสมมติฐานหมายถึงข้อใด ?
.   ประเมินผล                                                                 การอนุมาน
.   การสนธิ                                                                     การตีความ
70ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติเริ่มใช้  ..ใด ?    
.   .. ๒๕๒๐                                                              . .. ๒๕๑๙        
.   .. ๒๕๑๘                                                              . .. ๒๕๑๗        

71การารักษาความปลอดภัยฝ่ายทหารขึ้นอยู่กับสังกัดใด ?
.   สำนักนายกรัฐมนตรี                                                . กระทรวงกลาโหม
.   กองทัพบก                                                                  . ถูกทุกข้อ
72สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นองค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ายใด ?
.   ฝ่ายตำรวจ                                                                   . ฝ่ายพลเรือน
.   ฝ่ายทหาร                                                                    . ถูกทุกข้อ
73หัวหน้าส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวง ผบ.สูงสุด ,ผบ.ทบ.และผบ.ทร.อยู่ในขั้นชั้นความลับใด
.   ลับที่สุด                                                                       . ลับมาก
.   ลับ                                                                                . ถูกทุกข้อ
74ข้อใดไม่ใช่ประเภทของการรักษาความปลอดภัย ?
.   การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล                 . การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร
               คการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่                . การรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือน

75. ข่าวกรองเป็นผลผลิตมาจากอะไร ?
ก.      เป็นผลผลิตที่ได้มาจากประชาชน และพลเรือน
ก.      เป็นผลผลิตที่ได้มาจากการรวบรวม การประเมินค่า การวิเคราะห์ การตีความจากข่าวสาร
ก.      เป็นผลผลิตที่ได้มาจากประชาชน พลเรือน และนักศึกษา
ก.      ที่กล่าวมาไม่มีข้อใดถูก
76. วงรอบข่าวกรองแบ่งออกเป็นกี่ขั้นตอน ?
                ๔ ขั้นตอน                                                                   ๕ ขั้นตอน
                  ขั้นตอน                                                                     ขั้นตอน
77. ขั้นดำเนินกรรมวิธีในวงรอบข่าวกรองประกอบด้วยการดำเนินการในเรื่องใด ?
ก.       การบันทึก                                                                 การประเมินค่า
.   การตีความ                                                                  ถูกทุกข้อ
78. ข่าวกรองเป็นผลผลิตมาจากอะไร ?
        เป็นผลผลิตที่ได้มาจากประชาชน และพลเรือน
        เป็นผลผลิตที่ได้มาจากการรวบรวม การประเมินค่า การวิเคราะห์ การตีความจากข่าวสาร
        เป็นผลผลิตที่ได้มาจากประชาชน พลเรือน และนักศึกษา
         ที่กล่าวมาไม่มีข้อใดถูก
79. กรรมวิธีการดำเนินการเกี่ยวกับข่าวสารให้เป็นข่าวกรองทางทหารเรียกว่าอะไร ?
ก.       การรวบรวมข่าวสาร                                                การดำเนินกรรมวิธีข่าวสาร
.   การวางแผนรวบรวมข่าวสาร                                  วงรอบข่าวกรอง
80. วงรอบข่าวกรองแบ่งออกเป็นกี่ขั้นตอน ?
                ๔ ขั้นตอน                                                                   ๕ ขั้นตอน
                  ขั้นตอน                                                                     ขั้นตอน
81. พื้นที่อิทธิพล คือ ?
ก.      พื้นที่ปฎิบัติการข่าวกรองที่หน่วยได้รับมอบ
ข.      พื้นที่ที่มีอันตราย และมีข้าศึกยึดครองอยู่
ค.      พื้นที่ที่ ขศ.ยึดครองอยู่ และมีการรักษาความปลอดภัยเป็นอย่างดี
ง.    พื้นที่ส่วนหนึ่งของเขตปฎิบัติที่ได้รับมอบเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวของฝ่ายตรงข้าม
82. วงรอบข่าวกรองมีกี่ขั้น ?
                .       ขั้น                                                                         ข.      ขั้น
                .       ขั้น                                                                        .        ขั้น
83. ขั้นดำเนินกรรมวิธีในวงรอบข่าวกรองประกอบด้วยการดำเนินการในเรื่องใด ?
ก.       การบันทึก                                                                 การประเมินค่า
.   การตีความ                                                                  ถูกทุกข้อ
84. การตีความประกอบด้วยงาน ๓ ส่วน ยกเว้นข้อใด ?
ก.       การวิเคราะห์                                                            การสังเคราะห์
.   การสนธิ                                                                     .   การอนุมาน
วิชา  ครูทหาร
85.ในกรรมวิธีของการศึกษานั้น  การเรียนจะให้ได้ผลดีต้องเรียนผ่านประสาทหลายๆ ทาง  ประสาทที่ต้องเรียนผ่านนั้นคือประสาททางใดบ้าง ?
          . จักษุประสาท,โสตประสาท,มโนประสาท,นาสิกประสาท,ชิวหาประสาท
          . จักษุประสาท,โสตประสาท,นาสิกประสาท,ชิวหาประสาท,กายประสาท
          . จักษุประสาท,จิตรประสาท,นาสิกประสาท,กายประสาท
          . จักษุประสาท,โสตประสาท,นาสิกประสาท,สัมผัสประสาท,กายประสาท
86. การใช้ระบบการสอนนั้น  ในการสอนหมายถึงวิธีดำเนินการสอนในแบบต่างๆ ซึ่งมีอยู่หลายวิธี อยากทราบว่าวิธีการสอนแบบต่างๆ ที่กล่าวนั้นมีแบบใดบ้าง ?
          แบ่งเป็นกลุ่ม,ให้นักเรียนมีส่วนร่วม,ครูบรรยาย
          . อธิบายให้ฟัง,บทบาทสมมุติ,นำเสนอหน้าชั้นเรียน
               . สอนโดยวิธีบรรยาย,สอนเชิงประชุม,สอนโดยการแสดงให้ดู /
               . สอนหน้าชั้นเรียน,มอบหมายงานเดี่ยว,มอบงานเป็นกลุ่ม

87. การใช้ระบบการสอน ในขั้นการตรวจสอบ เป็นการปฏิบัติการทดสอบผลการเรียนของผู้รับการสอน  ในการตรวจสอบนั้นมีวิธีการตรวจสอบได้ดังนี้ ?

                ก. ทดสอบด้วยปากเปล่า,ทดสอบการปฏิบัติ,ทดสอบด้วยข้อเขียน

                ข.  การสัมภาษณ์,ดูลักษณะท่าทาง,ดูการปฏิบัติ

                ค. ทดสอบด้วยปากเปล่า,ทดสอบการปฏิบัติ,ทดสอบด้วยข้อเขียนและการแสดง

                ง.ถูกทุกข้อ

88.ในหลักเบื้องต้นของการสอนนั้นจะเป็นเครื่องนำทางให้ครูเลือกใช้วิธีการสอน,อุบายและเทคนิคในการสอน มีหลักดังนี้ ?

                ก.  เร้าความสนใจ,บอกความมุ่งหมาย,เรียนด้วยการปฏิบัติ

                ข.  อารมณ์,ไหวพริบ,ประสบการณ์,ความต้องการเรียน

                ค.  เรียนด้วยความสมจริง,เชื่อมพื้นความรู้เดิม,รู้จักใช้คุณค่านำไปใช้ได้ถูกต้อง

                ง.ข้อ ก.และข้อ ค.ถูก /

89.  ลักษณะของครูที่ดีมีลักษณะอย่างไร ?

                ก.  มีความรู้ดี,รู้เทคนิคการสอน,มีบุคลิกดี,มีความเป็นผู้นำ,มีจิตใจเป็นครู /

                ข. สนใจนักเรียน,สนใจบทเรียน,สนใจปัญหา,มีความเป็นธรรม,เป็นตัวอย่างที่ดี

                ค.  รู้เกินกว่าเรื่องที่จะสอน,รู้กรรมวิธีการสอน,เป็นผู้นำ,รู้เรื่องที่จะสอนอย่างกว้างขวาง

                ง.  ข้อ ข.และ ค.ถูก

90การที่จะเป็นครูที่ดีได้ครูจะต้องปรับปรุงตัวอยู่ตลอดเวลา  วิธีการที่จะปรับปรุงตัวเองให้เป็นครูที่ดีได้นั้นมีวิธีการปรับปรุงตัวดังนี้ ?

                ก.  รู้จักเทคนิควิธีการสอนด้วยการค้นคว้า และสังเกตการสอนของครูคนอื่น

                ข.  วิเคราะห์ตนเองและเพ่งเล็งปัจจัย เพื่อหาข้อแก้ไขข้อบกพร่องและเสริมข้อดีที่มีอยู่

                ค.  ขอให้ครูคนอื่นติชมหรือวิจารณ์ค้นหาข้อบกพร่องเพื่อแก้ไขและปรับปรุงตลอดเวลา

                ง.  ถูกทุกข้อ

91ครูที่ดีจะต้องมีลักษณะดีมีการปรับปรุงตนเองเสมอซึ่งจะมีข้อแนะนำสำหรับครูไว้ดังนี้ ?
                ก.  ต้องมีความรู้ในบทเรียนตลอดทั้งบทเรียน
                ข.  อย่าใช้วาจาสามหาวหรือหยาบโลนอย่าพูดกระทบกระเทียบเยาะเย้ย
                ค.  อย่าพูดยกตนข่มท่านและต้องมีความอดทนทั้งร่างกายและจิตรใจ
                ง.  ถูกทุกกข้อ /
92. ในการเตรียมแผนบทเรียนหลังจากประมาณสถานการณ์สอน และตกลงใจว่าจะสอนเรื่องอะไรแล้วครูจะต้องปฏิบัติอย่างไรต่อไป ?
                ก.  วางความมุ่งหมายไว้ในใจ,รวบรวมสิ่งอุปกรณ์ที่จำเป็น,ทำแผนบทเรียน
                ข.  วางความมุ่งหมายให้แน่นอน,สอบตารางการฝึก,ทำแผนบทเรียน
                ค.  ซ้อมสอนและแก้ไขแผนบทเรียน,สำรวจการเตรียมงานหรือสอนครั้งสุดท้าย
               ง.   ข้อ ก.และค.ถูก           
93.  ในการเตรียมตัวของครูนั้นการทำบทเรียนเป็นเรื่องสำคัญ บทเรียนที่ดีในหัวข้อเรื่องนั้นควรทำอย่างไร ?
                ก.  บทเรียนหนึ่งเป็นส่วนของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
                ข.  บทเรียนหนึ่งเป็นหน่วยสอนหน่วยหนึ่ง
                ค.  เรื่องที่จะสอนทุกเรื่องบทเรียนต้องแยกเป็นหลายบทบทเรียน
                ง.  ถูกทุกข้อ /
94 .ในเรื่องการเตรียมตัวของครูนั้นก่อนจะเริ่มทำการเรียนการสอนนั้นครูจะต้องทราบความรู้พื้นฐานเดิมของผู้รับการสอนด้วยการทดสอบก่อนการเรียนด้วยการทำแบบทดสอบ  ในส่วนของครูทหารนั้น ครูจะทราบความรู้พื้นเดิมของทหารได้จากสิ่งได ?
                .      ครอบครัว,ปัญหารส่วนตัว,การเข้าร่วมกิจกรรม,การแสดงความคิดเห็น
                .      ลักษณะท่าทาง,ภูมิลำเนา,รายงานประจำตัว,ผลการปฏิบัติงาน,ประวัติส่วนตัว
                .      รายการประจำตัว,ผลการศึกษาในโรงเรียน,เวลารับราชการ,ตำแหน่งปัจจุบัน /
                .      ข้อ ก. และ ข. ถูก
วิชา ปรับการยิง  ค. และ ป.
95.อาวุธ ค. และ ปเป็นอาวุธที่มีระยะยิงไกล ใช้สนับสนุนการยิงเป้าต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสนามรบ     
ใช้ยิงเป้าหมายที่เหมาะสมที่สุด คืออะไร
                ข้าศึก ๒-๓ คน                                                           ข้าศึกในหลุมบุคคล ๒ ๓ คน                      
                ค. ที่พักข้าศึก ๑ หลัง                                                       งที่ตั้งอาวุธหลังเนิน
96. การยิงสนับสนุนของ ค. และ ป. นั้น    จำเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่ที่จะต้องประสานการยิงสนับสนุน
และติดต่อสื่อสารถึงกัน  ในชุดการยิงของ ค.และ ป.  แบ่งออกเป็นกี่ส่วน
                ๓ ส่วน                                                                         . ๔ ส่วน 
                ๕  ส่วน                                                                        ๖ ส่วน
97. ผู้ตรวจการณ์  (ผต.) เป็นพลรบในแนวหน้า      ส่วน ผู้ตรวจการณ์หน้า  (ผตน.) เป็นเจ้าหน้าที่ของ ค. 
ทำหน้าที่อย่างเดียวกันอยากทราบว่าหน้าที่ของ  ผตนมีกี่ประการ
                . ๓ ประการ                                                                    . ๔ ประการ                                           
                ๕  ประการ                                                                  ๖  ประการ

98. เมื่อผู้ตรวจการณ์หน้าพบเป้าหมายแล้ว จำเป็นต้องหาหลักฐานเป้าหมาย  หน้าที่ประการที่  ๒  
ของ ผตนคืออะไร
                ร้องขอการยิง                                                              สั่งให้ปืนยิง                                       
                คำนวณการยิง                                                             รายงานผลการยิง
99. เมื่อผู้ตรวจการณ์หน้าพบเป้าหมายแล้ว          จะต้องรีบวางแผนกระทำต่อเป้าหมายทันที     
หน้าที่ประการแรกของ ผตน. คืออะไร
                ร้องขอการยิง                                                              คำนวณการยิง                                    
                คออกคำสั่งยิง                                                                กำหนดที่ตั้งเป้าหมาย
100เครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ตรวจการณ์หน้ามีหลายชนิด   เครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นและ
ขาดไม่ได้สำหรับ ผตน.ได้แก่อะไร
                กล้องส่อง                                                                    แผนที่เข็มทิศ                                     
                ภาพสังเขป                                                                  การวัดมุมด้วยนิ้วมือ
101คำขอยิง ได้แก่ ข่าวสารที่จำเป็นที่ศูนย์อำนวยการยิงพึงทราบเพื่อพิจารณาวิธีโจมตีเป้าหมาย
ให้ได้ผล  คำขอยิงมีกี่หัวข้อ
                ๔  ข้อ                                                                           ๕  ข้อ  
                ๖  ข้อ                                                                            ๗  ข้อ
102คำขอยิงนั้นจะต้องส่งอย่างรวดเร็วที่สุด   หัวข้อ คำขอยิงข้อที่ ๑ ได้แก่อะไร
                คำเตือน                                                                        การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย                                
                การแสดงตนฯ                                                            ลักษณะเป้าหมาย
103เมื่อ ผตน.บอกที่ตั้งเป้าหมายแล้ว  ซึ่งเป็นหัวข้อคำขอยิงข้อที่ ๓    ต่อไปจะต้องบอก 
หัวข้อ  คำขอยิงข้อที่ ๔   คืออะไร
                การแสดงตน ฯ                                                           ลักษณะเป้าหมาย              
                ที่ตั้งเป้าหมาย                                                              วิธีโจมตี
104. ผตน.พูดร้องขอ  ลพบุรี ๑๘ จากลพบุรี ๒๔  ปรับการยิง”   เป็นวิธีร้องขอการยิง    ด้วยวิธีอะไร
                วิธีโปล่าร์                                                                     วิธีพิกัด                                
                ค.วิธีหมายพิกัด                                                                วิธีย้ายจากจุดที่ทราบ
105. ผตน.พูดร้องขอ  มุมภาค  ๑,๑๐๐   ระยะ  ๑,๐๐๐”   เป็นวิธีการร้องขอการยิง    ด้วยวิธีอะไร
                วิธีโปล่าร์                                                                     วิธีพิกัด                                
                .วิธีหมายพิกัด                                                                วิธีย้ายจากจุดที่ทราบ
106ผตน.พูดร้องขอ  ลพบุรี ๑๘  จาก ลพบุรี ๒๔ปรับการยิงจาก เนิน ๔๓๒มุมภาค ๘๐๐,   เพิ่ม  ๒๐๐,รถถังข้าศึก”  เป็นวิธีการร้องขอการยิงด้วยวิธีอะไร 
                วิธีโปล่าร์                                                                     วิธีพิกัด                                
                .วิธีหมายพิกัด                                                                วิธีย้ายจากจุดที่ทราบ
107คำพูดร้องขอต่อไปนี้ต่อไปนี้  ผตน.ขาดหลักฐานอะไร      “ลพบุรี ๑๘  จากลพบุรี ๒๔มุมภาค ๓,๒๐๐,  
ระยะ ๙๐๐  รถถังข้าศึก
                คำเตือน                                                                        การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย                                
               การแสดงตนฯ                                                             ลักษณะเป้าหมาย
108หลักฐานในการคำนวณการยิงที่ ศอย.ต้องทราบคือ ที่ตั้งเป้าหมาย  หลักฐานในการร้องขอการยิงที่ขาด
ไม่ได้และทุกวิธีที่ร้องขอการยิงต้องมีเหมือนกัน  คือหลักฐานอะไร
                พิกัด                                                                              ระยะ   
                คมุมภาค                                                                         จุดอ้าง
109ผตน.ตรวจตำบลกระสุนตกว่า  ระยะเป้าหมาย”  การแก้ไขการยิง แก้อย่างไร
                เพิ่มระยะ                                                                     ลดระยะ              
                ซ้ำระยะเดิม                                                                 ตรงทิศ
110ผตน.ตรวจทางทิศได้ว่า  ขวา ๑๐๐”   ผตน.อยู่ห่างเป้าหมาย ๒,๐๐๐  เมตร   ต้องแก้ไขอย่างไร
                .   ขวา ๑๐๐                                                                     ซ้าย ๑๐๐             
                คขวา  ๒๐๐                                                                    ซ้าย ๒๐๐
111ผตน.ตรวจตำบลกระสุนตกได้ว่า   หน้า, ตรงทิศ”   แก้ไขอย่างไร
                ลด.....                                                                            เพิ่ม.......                                               
                ซ้ำระยะเดิม                                                                 เป้าหมาย,ยิงหาผล 
112หน้าที่ของผู้ตรวจการณ์หน้า ประการหนึ่ง ได้แก่  อะไร
                ก.  สั่งให้ปืนยิง                                                                ร้องขอการยิง                                     
                . คำนวณการยิง                                                              ประเมินค่าเป้าหมาย
113หลักฐานที่ขาดไม่ได้ในการกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย ได้แก่หลักฐานอะไร
                ความสูงต่าง                                                                เพิ่มหรือลดระยะ                                              
                มุมภาคของทิศ                                                            จุดอ้างอิง
114.  “...................................................................”  ปรับการยิงพิกัดพิกัด ๔๒๕๐   ๖๒๕๐  มุมภาค  ๒,๐๐๐  
ปืนกลข้าศึก ๒ กระบอก”    คำพูดที่ขาดไป ได้แก่หัวข้อคำขอยิง  อะไร
                คำเตือน                                                                        . วิธีโจมตี                                               
                วิธียิง                                                                             การแสดงตนของ ผตน.
วิชา ปืนกล  เอ็ม.๖๐
115. ปก.เอ็ม.๖๐ มีอัตราการยิงอยู่ ๓ แบบ    อยากทราบว่า    อัตราการยิงสูงสุด  ยิงกี่นัด/นาที
                ก๑๐๐  นัด/นาที                                                             ๒๐๐ นัด/นาที
                ค. ๕๕๐   นัด/นาที                                                           ง,๐๐๐ นัด/นาที
116ปก.เอ็ม.๖๐   เป็นอาวุธยิงอัตโนมัติบรรจุในหน่วยระดับหมวดปืนเล็ก ระยะยิงไกลสุด  ๒,๗๒๕ ม.  
ยิงหวังผลตั้งแต่ระยะใดลงมา
                . ,๗๒๕    ม.                                                                ข.   ,๕๐๐   ม.
                . ,๑๐๐    ม.                                                                    ง.    ๕๐๐      ม.
117. ปก.เอ็ม. ๖๐    มีอัตราการยิงอยู่  ๓  แบบ   คือ   การยิงต่อเนื่องการยิงเร็ว    และการยิงอัตราสูงสุด  
อัตรา การยิงเร็ว พลยิง ปก.เอ็ม.๖๐ จะยิงกี่นัดต่อนาที   
                ก๑๐๐  นัด/นาที                                                             ข๒๐๐ นัด/นาที
                . ,๐๐๐ นัด/นาที                                                           ง.  ๕๕๐ นัด/นาที
118. ปก.เอ็ม. ๖๐ ทำงานด้วยแก๊ส ระบายความร้อนด้วยอากาศ ป้อนกระสุนด้วยอะไร
                ก. ซองกระสุน                                                                 . สายกระสุน
                . มือ                                                                                  ง. ถูกทุกข้อ
119. ปก. เอ็ม ๖๐ จัดเป็นอาวุธประจำหน่วย   มีขนาดกว้างปากลำกล้องเท่าใด
                ก.  .๒๒  มม.                                                                     .๕๖  มม.
                .  .๔๕                                                                              ง. .๖๒  มม.
120ศูนย์หลังของ  ปก.เอ็ม.๖๐ จะประกอบด้วยควงมุมสูงและควงมุมทิศถ้าหมุนควงมุมทิศ ๑ คลิ๊ก  
ระยะยิง  ๓๐๐  เมตร  ตำบลกระสุนถูกเป้าหมายจะเปลี่ยนไปกี่   ซม.
                . ๓๐  ซม.                                                                        ๑๐ ซม.
                ๑ ซม.                                                                            ง. ๑๐๐ ซม.
121. กระสุนที่ใช้กับ  ปก.เอ็ม.๖๐  มีอยู่  ๖ ชนิด คือ  กระสุนธรรมดา,เจาะเกราะ,เจาะเกราะเพลิง,ฝึกหัดบรรจุ   
อีก ๒ ชนิด คือกระสุนอะไร
                กระเบิด,เคมี                                                                   ข. ซ้อมยิง.ส่องสว่าง
                . ซ้อมรบ,ส่องวิถี                                                            ง. ซ้อมยิง,ส่องวิถี
122. การยิงกวาดของ  ปก.เอ็ม.๖๐  เป็นการยิงที่กึ่งกลางกรวยกระสุนสูงจากพื้นไม่เกิน ๑  เมตร  
ในพื้นที่ราบหรือลาดเสมอ พลยิงจะทำการยิงในระยะไม่เกินกี่เมตร
                ก. ๕๐๐ เมตร                                                                    ข. ,๕๐๐ เมตร
                ค. ,๕๐๐ เมตร                                                               ง. ๖๐๐ เมตร
123. ปก.เอ็ม.๖๐ เป็นอาวุธยิงสนับสนุนให้กับพลปืนเล็กหรือหมู่  ปล.ในปืนแต่ละกระบอกมีพลประจำปืนกี่คน
                . ๑ คน                                                                              . ๒  คน
                ค. ๔ คน                                                                             ง. ๙ คน
124. การถอดประกอบ  ปก.เอ็ม.๖๐ มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา,ปรนนิบัตรบำรุงและแก้ไขเหตุติดขัดกระทำได้๒ 
วิธีคือ การถอดปกติและการถอดพิเศษ การถอดปกติเป็นหน้าที่ของใครที่กระทำได้
                กพลยิง                                                                            ข. พลยิงผู้ช่วย
                ค. พลกระสุน                                                                   ง. ถูกทุกข้อ
125. การถอดปกติอนุญาตให้ถอดได้ ๖ ชิ้นส่วน ได้แก่ชุดพานท้ายปืน,เครื่องรับแรงถอย,ส่วนเคลื่อนที่,เครื่องลั่นไก     
อีก ๒ ชิ้นส่วน คือชิ้นส่วนอะไร
                ก. ลำกล้องปืน,ฝาปิดห้องลูกเลื่อน                               . ชุดโครงลูกเลื่อน,ฝาปิดห้องลูกเลื่อน
                ค. ลำกล้องปืน,ชุดโครงลูกเลื่อน                                  ง. แหนบและแกนแหนบ
126. ชุดเครื่องเล็งของ  ปก.เอ็ม.๖๐  ประกอบด้วย ศูนย์หน้าและศูนย์หลัง ศูนย์หลังสามารถปรับระยะยิงได้ตั้งแต่
ระยะเท่า ไร ถึง  ระยะเท่าไร
                ก. ๓๐๐-,๑๐๐ ม.                                                            ข. -,๗๒๕ ม.
                . -,๑๐๐ ม.                                                                   . ๓๐๐-,๗๒๕
127. การยิง  ปก.เอ็ม.๖๐  ถ้าพลยิงใช้อัตราการยิง ๑๐๐ นัด  โดยยิงเป็นชุด ๆ ละ ๖-๙ นัด จะยิงในเวลาเท่าไร
                ก.ไม่จำกัดเวลา                                                                 ข๑ นาที
                . ๒ นาที                                                                          ง๑๐ นาที
128. การลุกไหม้ของกระสุนส่องวิถี เพื่อให้ทราบวิถีของกระสุนเวลายิง  สามารถมองเห็นได้ถึงระยะเท่าไร
                ก. ๙๐๐  ม.                                                                         ข. ,๑๐๐ ม.
                . .๕๐๐  ม.                                                                    . ,๗๒๕ ม.
129. การยิงสนับสนุนการตั้งรับเพื่อทำลายการเข้าตีของข้าศึกก่อนที่ข้าศึกจะเข้าตลุมบอนต่อฝ่ายเรา เรียกว่าการยิงป้องกันขั้นสุดท้าย การยิงชนิดนี้จะทำการยิงเมื่อข้าศึกอยู่ห่างจากแนวที่มั่นฝ่ายเราระยะประมาณกี่เมตร
                ก. ๑๐๐  ม.                                                                          ข. ๒๐๐   ม.
                . ๕๐๐ ม.                                                                          ง. ,๑๐๐  ม.
130. กระสุน  ปก.เอ็ม.๖๐  เมื่อทำการยิง จะเกิดการเผาไหม้ของดินปืนมีแรงดันในรังเพลิงกี่ปอนด์/ตารางนิ้ว
                ก. ๕๐๐  ปอนด์/ตารางนิ้ว                                              ข. ๕๐,๐๐๐ ปอนด์
                ค. ๕๒,๐๐๐ ปอนด์                                                          ง. ,๐๐๐ ปอนด์
131. ปก.เอ็ม.๖๐  เมื่อจะทำการยิงลูกเลื่อนจะอยู่ในลักษณะใด
                ก. หน้าลูกเลื่อนเปิด                                                        ข. หน้าลูกเลื่อนปิด
                . หน้าลูกเลื่อนลอยตัว                                                   ง. ไม่มีข้อใดถูก
132. การถอดประกอบพิเศษเป็นหน้าที่ของใคร
                . พลยิง                                                                             ข. พลประจำปืน
                . ผบ.หมวดปืนเล็ก                                                         ง. ช่างอาวุธ
133. ปก.เอ็ม.๖๐ มีการติดตั้งได้ ๒ แบบ คือ ติดตั้งด้วยขาทราย และ ติดตั้งด้วยขาหยั่ง เอ็ม ๑๒๒  
 เมื่อทำการตั้งยิงบนขาหยั่ง  เอ็ม  ๑๒๒ จะมีน้ำหนัก  เท่าไร
                ก๒๓ ปอนด์                                                                  ข. ๔๒.๕  ปอนด์
                ค. ๑๙.๕ ปอนด์                                                                ง. ไม่มีข้อใดถูก
134. วงรอบการทำงานของ  ปก.เอ็ม.๖๐  มี ๘ ขั้นตอน ตั้งแต่การป้อนกระสุน การเข้าสู่รังเพลิง การขัดกลอน
 การยิง การปลดกลอน การรั้งปลอกกระสุน การคัดปลอกกระสุน ขั้นตอนสุดท้ายของการทำงานคือขั้นตอนใด
                . การขึ้นนก                                                                    ข. การบรรจุ
                . การดังคันรั้งลูกเลื่อน                                                 ง. การห้ามไก
135. ปก.เอ็ม.๖๐มีการติดตั้ง ๒ แบบ คือ ติดตั้งด้วยขาทราย และ ติดตั้งบนขาหยั่ง เอ็ม ๑๒๒ เมื่อทำการตั้งยิงด้วยขาทราย
มีน้ำหนัก  เท่าไร
                ก๒๓ ปอนด์                                                                  ข. ๔๒.๕  ปอนด์
                ค. ๑๙.๕ ปอนด์                                                                ง. ไม่มีข้อใดถูก                      
วิชา ค.ขนาด ๖๐ มม.
136..๖๐ มม. จัดเป็นอาวุธประจำหน่วย ใช้ยิงสนับสนุนในการเข้าตีตั้งรับให้กับหมวดปืนเล็กในแนวหน้า  
ทำการยิงอย่างไร
                อัตโนมัติ                                                                      เป็นชุด                                
                คทีละนัด                                                                        กึ่งอัตโนมัติ
137. .๖๐ มม. เป็นอาวุธกระสุนวิถีโค้ง  ทำการยิงทีละนัด โดยบรรจุลูกระเบิดยิง(กระสุน)ทางปากลำกล้อง   
ทำการยิงด้วยวิธีอะไร
                เล็งจำลอง                                                                    เล็งตรง                                
                คเล็งจำลองและเล็งตรง                                              เล็งทับเป้าหมาย
138. .๖๐ มมมี ๓ ชิ้นส่วนใหญ่ ได้แก่  ขาหยั่ง,ลำกล้อง และแผ่นฐาน    เวลาใช้ยิงสนับสนุนหรือ
เคลื่อนย้ายจะต้องประกอบติดกัน   มีน้ำหนักพร้อมยิงเท่าไร
                ๔๒ ปอนด์                                                                  ๔๒.๕ ปอนด์                                    
                ๓๐ ปอนด์                                                                   ๑๕ กก.
139. .๖๐มม. ในการเล็งยิงเป้าหมายต้องใช้กล้องเล็งเป็นอุปกรณ์สำหรับตั้งเครื่องยิงให้ตรงทิศ และ
ตั้งมุมสูงให้กับเครื่องยิงได้ตามระยะที่ต้องการ กล้องเล็งที่ใช้กับ ค.๖๐ มม.เป็นกล้องเล็งอะไร
                เอ็ม ๕                                                                           เอ็ม ๑                                   
                คเอ็ม ๔                                                                           เอ็ม ๓๔
140. .๖๐ มม. ทำการยิงสนับสนุนให้กับหน่วยในแนวหน้าในทางยุทธวิธี    มีอัตราการยิงต่อเนื่องเท่าไร
                ๑๘ นัด/นาที                                                               ๓๐ นัด/นาที                                      
                ๑๐ นัด/นาที                                                                -๑๐ นัด/นาที
141. ชื่อลูกระเบิดยิง ค.๖๐  มม.มี ๕ ชนิดได้แก่ ลย.ฝึกยิง, ลย.ซ้อมยิง ฯลฯ     ลูกระเบิดยิงชนิดหนึ่ง  คืออะไร
                . ลย. ธรรมดา                                                                  ลย.ระเบิดเจาะเกราะ                                        
                ลย.ส่องวิถี                                                                   ลย.ส่องแสง
142.   ลูกระเบิดยิงควันฟอสฟอรัสขาว ของ ค.๖๐ มม. ประโยชน์ในการใช้งานเพื่อ ส่องสว่างในสนามรบ
ในเวลากลางคืน  มีระยะยิงไกลสุดเท่าไร
                ,๐๐๐ เมตร                                                               ,๔๕๐ เมตร                                      
                ,๗๕๐ เมตร                                                               . ,๕๙๐ เมตร
143. สาเหตุติดขัดของ ค.๖๐ มม.คือ ลูกระเบิดยิงด้าน      ลูกระเบิดยิงด้านที่เป็นอันตราย ของ ค.๖๐ มม. คืออะไร
                ด้านรวม                                                                       ด้านในลำกล้อง                                 
                ด้านนอกลำกล้อง                                                       ด้านยิงเสียงไม่ดัง
144.๖๐ มม.เป็นอาวุธประจำหน่วย ร้อย อวบ. ๑ หมู่ ค.๖๐ มีกี่คน
                .   ๑๑  คน                                                                        ๙  คน                                  
                ๕  คน                                                                           ๔ คน
145. .๖๐ มม.มีลูกระเบิดยิงที่ใช้ทำการยิงมากที่สุดในการรบ ได้แก่ ลูกระเบิดยิงสังหาร   มีรัศมีระเบิด  เท่าไร
                ๑๐ ม.                                                                            ๘  คูณ ๑๐  ม.                                     
                ๑๘ คูณ ๙ ม.                                                                ๑๘ ม.
146.  ค.ขนาด ๖๐ มม. มีกระสุน เรียกว่า ลูกระเบิดยิง เพราะภายในกระสุนบรรจุวัตถุระเบิดหรือสารเคมี 
เหมือนลูกระเบิดขว้าง ชนิดของลูกระเบิดแบบสังหาร   จะมีสัญลักษณ์อะไร
                ก. สีขาวคาดเหลือง                                                          ข. สีกากีแกมเขียวคาดเหลือง                                
               ค. สีเทาคาดเหลือง                                                           ง. สีฟ้าคาดขาว
147. ลูกระเบิดยิงของ ค.๖๐ มม.มีอยู่ ๕ ชนิด ซึ่งมีความมุ่งหมายใช้งานต่างกัน  การฝึกพลประจำปืนเริ่มแรก
ใช้ลูกระเบิดยิงชนิดอะไร
                ก. ลูกระเบิดยิงซ้อมยิง                                                    ข. ลูกระเบิดยิงสังหาร                                           
                ค. ลูกระเบิดยิงฝึกหัดบรรจุ                                            ง. ลูกระเบิดยิงฝึกยิง               
วิชา  หมู่ปืนเล็กในการเข้าตี
148. การรบที่ต้องเคลื่อนที่เข้าไปให้ถึงตัวข้าศึกเพื่อยึดแย่งดินแดน  เรียกว่า
                .   การรบด้วยวิธีรุก                                                        .   การเข้าตี
                .   การรบด้วยวิธีรับ                                                       .   ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
149. การปฏิบัติเพื่อทำลายกำลังรบของข้าศึก  เป็นความมุ่งหมายของการรบด้วยวิธีใด
                .   การรบด้วยวิธีรับ                                                       .   การเข้าตี
                .   การถอนตัว                                                                 .   การลาดตระเวน

150. การปฏิบัติเพื่อแย่งยึดภูมิประเทศ  หรือดินแดนที่ข้าศึกยึดครอง  เป็นความมุ่งหมายของการรบด้วยวิธีใด
                .   การรบด้วยวิธีรับ                                                       .   การเข้าตี
                .   การถอนตัว                                                                 .   การลาดตระเวน
151. การปฏิบัติเพื่อคลี่คลายรูปการวางกำลังของข้าศึก  เป็นความมุ่งหมายของการรบด้วยวิธีใด
                .   การรบด้วยวิธีรับ                                                       .   การเข้าตี
                .   การถอนตัว                                                                 .   การลาดตระเวน
152. การปฏิบัติเพื่อขัดขวางการใช้แหล่งทรัพยากรที่ต้องการ  เป็นความมุ่งหมายของการรบด้วยวิธีใด
                .   การรบด้วยวิธีรับ                                                       .   การเข้าตี
                .   การถอนตัว                                                                 .   การลาดตระเวน
153. การปฏิบัติเพื่อหันเหความสนใจของข้าศึกจากพื้นที่อื่น   เป็นความมุ่งหมายของการรบด้วยวิธีใด
                .   การรบด้วยวิธีรับ                                                       .   การเข้าตี
                .   การถอนตัว                                                                 .   การลาดตระเวน
154. ขั้นตอนการรบด้วยวิธีรุก  แบ่งออกเป็น  ๒  ขั้นตอน  คือ
ก.       การเคลื่อนที่เข้าปะทะ , การเคลื่อนที่ผ่านแนวออกตี
ข.       การเคลื่อนที่เข้าปะทะ , การเคลื่อนที่ผ่านฐานออกตี
ค.       การเคลื่อนที่เข้าปะทะ , การเข้าตี
ง.       การเคลื่อนที่ผ่านแนวประสานการปฏิบัติขั้นสุดท้าย , การเข้าตี
155. การเคลื่อนย้ายหน่วยทางยุทธวิธีจากตำบลหนึ่งที่อยู่ห่างไกลกับข้าศึก  ไปยังอีกตำบลหนึ่งที่อยู่ใกล้ข้าศึก 
ซึ่งการเคลื่อนย้ายอาจจะเป็นอันตรายจากข้าศึก  เรียกว่าการเคลื่อนที่
                .   ผ่านแนวออกตี                                                          .   ผ่านฐานออกตี
                .   เข้าปะทะ                                                                    .   การเข้าตี
156. ขั้นการเริ่มปฏิบัติการรบปะทะเพื่อยึดที่หมายที่ข้าศึกครองอยู่  เรียกว่า
                .   ขั้นการเข้าตี                                                                .   ขั้นการเคลื่อนที่เข้าปะทะ
                .   ขั้นการผ่านแนวออกตี                                             .   ขั้นการผ่านฐานออกตี
157. การเคลื่อนย้ายที่กระทำภายใต้สภาพการรบในยุทธบริเวณ  เรียกว่า
                .   การเคลื่อนที่เข้าปะทะ                                             .   การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธี
                .   การเคลื่อนย้ายทางธุรการ                                        .   การเคลื่อนย้ายในการเข้าตี
158. การเคลื่อนที่เข้าปะทะทางพื้นดินมี  ๒  ประเภท  คือ
ก.       เข้าปะทะในความกำบัง , เข้าปะทะนอกความกำบัง
ข.       เข้าปะทะในเวลากลาวงวัน , เข้าปะทะในเวลากลางคืน
ค.       เข้าปะทะในความกำบัง , เข้าปะทะในเวลากลางคืน
ง.       เข้าปะทะในเวลากลางวัน , เข้าปะทะนอกความกำบัง
159. การเคลื่อนที่ข้างหลังส่วนกำบังไปยังที่ที่กำหนดให้  เพื่อลดเปลี่ยนหรือเพิ่มกำลังให้พร้อมที่จะ
ปะทะกับข้าศึกสิ้นสุดลงเมื่อเข้าที่ตั้งเรียบร้อยแล้ว  คือการเคลื่อนที่
                .   เข้าปะทะในเวลากลางวัน                                       .   เข้าปะทะในเวลากลางคืน
                .   เข้าปะทะนอกความกำบัง                                        .   เข้าปะทะในความกำบัง
160. การเคลื่อนที่เข้าปะทะโดยมีการกำบังจากหน่วยทหารฝ่ายเดียวกันเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย  
การเคลื่อนที่สิ้นสุดลงเมื่อปะทะกับข้าศึกทางพื้นดินโดยตรง  คือการเคลื่อนที่
                .   เข้าปะทะในเวลากลางวัน                                       .   เข้าปะทะในเวลากลางคืน
                .   เข้าปะทะนอกความกำบัง                                        .   เข้าปะทะในความกำบัง

161. การปฏิบัติการของข้าศึกทางพื้นดินยังอยู่ห่างไกล  เป็นการเคลื่อนที่ขั้นที่
                .   ขั้นที่   ๑                                                                       .   ขั้นที่  ๒
                .   ขั้นที่   ๓                                                                      .   ขั้นที่   ๔
162. การปฏิบัติการทางพื้นดินของข้าศึกยังไม่น่าจะเกิดขึ้นเป็นการเคลื่อนที่ขั้นที่
                .   ขั้นที่   ๑                                                                       .   ขั้นที่  ๒
                .   ขั้นที่   ๓                                                                      .   ขั้นที่   ๔
163. การปะทะไม่น่าจะเป็นไปได้  เรียกว่าการเคลื่อนที่ขั้นที่
                .   ขั้นที่   ๑                                                                       .   ขั้นที่  ๒
                .   ขั้นที่   ๓                                                                      .   ขั้นที่   ๔
164การปะทะที่ยังอยู่ห่างไกล  เรียกว่าการเคลื่อนที่ขั้นที่
.   ขั้นที่   ๑                                                                       .   ขั้นที่  ๒
                .   ขั้นที่   ๓                                                                      .   ขั้นที่   ๔
165. การปฏิบัติทางพื้นดินของข้าศึกใกล้จะเกิดขึ้น  เรียกว่าการเคลื่อนที่ขั้นที่
.   ขั้นที่   ๑                                                                       .   ขั้นที่  ๒
                .   ขั้นที่   ๓                                                                      .   ขั้นที่   ๔
166. การปะทะใกล้จะเกิดขึ้น  เรียกว่าการเคลื่อนที่ขั้นที่
.   ขั้นที่   ๑                                                                       .   ขั้นที่  ๒
                .   ขั้นที่   ๓                                                                      .   ขั้นที่   ๔
167.   ในการเข้าตีของหมวดปืนเล็ก  หน่วยใดเป็นหน่วยหลักในการยิง
                .   บก.มว.                                                                         .   หมู่ ปก.เอ็ม ๖๐
                .   หมู่ ปล.                                                                        .   ไม่มีข้อใดถูก
168. พื้นที่ซึ่งหน่วยทหารจะเข้าตีได้มารวมกันอยู่ก่อนที่จะปฏิบัติการทางยุทธวิธีต่อไป  และเป็นที่ที่ผู้บังคับบัญชา
เป็นผู้กำหนดเรียกว่า
                .   ฐานออกตี                                                                   .   แนวออกตี
                .   ที่หมาย                                                                        .   ที่รวมพล
169.   เวลาที่หน่วยเข้าตีผ่านแนวออกตีไปตามกำหนดเวลาโดยพร้อมเพียงกัน  เมื่อได้รับคำสั่ง  หรือสัญญาณ  เรียกว่า
                .   เวลาออกตี                                                                  .   เวลาผ่านแนวออกตี
                .   เวลาที่อยู่ในที่รวมพล                                               .   เวลาให้คำสั่ง
170.   ตำบลที่ตั้งสุดท้ายที่ให้การปกปิดกำบัง  และซ่อนพรางเป็นตำบลที่อยู่ใกล้ ๆ กับแนวออกตี  เรียกว่า
                .   ฐานออกตี                                                                   .   แนวออกตี
                .   ที่หมาย                                                                        .   ที่รวมพล
171.   ผบ.ร้อย  เป็นผู้กำหนดขึ้น  เพื่อประสานการเริ่มต้นการเข้าตี  เรียกว่า
                .   ฐานออกตี                                                                   .   แนวออกตี
                .   ที่หมาย                                                                        .   ที่รวมพล
172.   ผบ.ร้อยเป็นผู้มอบขอบเขตในการปฏิบัติของหมวด  เป็นพื้นที่ซึ่งถูกกันไว้ด้วย  แนวออกตี  เส้นแบ่งเขต  
และที่หมายขั้นสุดท้าย  เรียกว่า
                .   แนวออกตี                                                                  .   เส้นแบ่งเขต
                .   เขตปฏิบัติการ                                                            .   ทิศทางเข้าตี
173.   เส้นทางกว้าง ๆ  ที่หมวดจะต้องเคลื่อนที่เข้าตี  หมวดอาจเคลื่อนที่อ้อมผ่านข้าศึกที่ไม่ขัดขวางการเคลื่อนที่  
เส้นนี้ส่วนมากใช้กับหน่วยยานเกราะ  เรียกว่า
                .   เส้นทางตรง                                                               .   เส้นทางอ้อมผ่าน
                .   เส้นทางในการเข้าตี                                                 .   เส้นหลักการรุก
174.   ทิศทาง หรือเส้นทางซึ่งศูนย์กลางรูปขบวนของหมวดที่เข้าตีเคลื่อนที่ไปตามนั้น  และเส้นทางที่ผ่านนั้นจะต้องทำการกวาดล้างให้หมดสิ้น  เรียกว่า
                .   ทิศทางการเข้าตี                                                         .   ทิศทางตรง
                .   ทิศทางอ้อมผ่าน                                                        .   ทิศทางหลัก
175.   ตำบลต่าง ๆ  ในภูมิประเทศซึ่งง่ายต่อการสังเกตเห็น  เช่น  ถนนตัดกัน  ใช้เพื่อเป็นตำบลควบคุมการเคลื่อนที่เป็นจุดอ้างในการรายงานที่ตั้งของฝ่ายเรา  และปรับการยิง  เรียกว่า
                .   จุดติดต่อ                                                                      .   จุดประสาน
                .   จุดนัดพบ                                                                    .   จุดตรวจสอบ
176.   แนวที่อยู่ห่างจากที่หมายประมาณ  ๑๐๐ ๑๕๐  เมตร  เรียกว่าแนว
                .   แนวออกตี                                                                  .   แนวปรับรูปขบวน
                .   แนวทางการเคลื่อนที่                                               .   แนวประสานการปฏิบัติขั้นสุดท้าย
177.   แนวที่ใช้เพื่อประสานการเคลื่อนที่  และย้ายการยิงสนับสนุน  และเพื่อปรับปรุงกำลังขั้นสุดท้ายของหน่วยเข้าตี  เพื่อเข้าตะลุมบอนต่อที่มั่นข้าศึก  เรียกว่าแนว
                .   แนวออกตี                                                                  .   แนวปรับรูปขบวน
                .   แนวทางการเคลื่อนที่                                               .   แนวประสานการปฏิบัติขั้นสุดท้าย
178.   การยิงตะลุมบอนในเวลากลางวัน  ทหารจะต้องปฏิบัติอย่างไร
                .   ตะโกน  และส่งเสียงดัง                                          .   เคลื่อนที่ให้เงียบ
                .   ยิงตามเหตุการณ์                                                       .   ยิงเฉพาะที่หมาย
179.   การจัดระเบียบใหม่  ผบ.หมู่  จะต้องปฏิบัติอย่างไร
                .   มอบหมายเขตการยิง                                                .   สำรวจความเสียหายต่าง ๆ
                .   ดัดแปลงภูมิประเทศ                                                 .   หยุดการเคลื่อนที่
วิชา  หมู่ปืนเล็ก , หมู่ ปก.  ในแนวหน้าตั้งรับ - ถอนตัว
180.   จากคำกล่าวที่ว่า  การรบที่ไม่เป็นสิ่งที่ทำให้ฝ่ายเราได้รับชัยชนะข้าศึกโดยเด็ดขาดได้  
คือการรบแบบใด
   ก.   การรบด้วยวิธีรุก                                ข.   การรบด้วยวิธีรับ
   ค.   การรบด้วยวิธีประชิด                          ง.   การรบด้วยวิธีการรั้งหน่วง
181.   การรบด้วยวิธีรับนั้นท่านคิดว่าอยู่ในหมวดวิชาใด
   ก.   การรบเบื้องต้น                                 ข.   การรบขั้นสูง
   ค.   ยุทธวิธี                                          ง.   หลักนิยมในการรบ
182.   ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง  ในเรื่องความมุ่งหมายของการรบด้วยวิธีรับ
ก.       เพื่อลดขีดความสามารถในการรบด้วยวิธีรุกของข้าศึก
ข.       เพื่อทำลาย  หรือล่อให้ข้าศึกเข้ามาในพื้นที่ที่เราไม่ต้องการ
ค.       เพื่อขัดขวางข้าศึกที่จะเข้ามาสู่พื้นที่สำคัญ
ง.       เพื่อรกโอกาสที่จะกลับมาเป็นฝ่ายรุก
183.   การรบด้วยวิธีรับ  คือ  การใช้เครื่องมือ  และวิธีการทั้งมวลที่มีอยู่เพื่อ
   ก.  ป้องกัน                                             ข.   ต้านทาน
   ค.  ทำลาย                                             ง.   ถูกทุกข้อ
184.   แบบของการตั้งรับ  มีด้วยกันกี่แบบ
   ก.   ๑   แบบ                                          ข.   ๒  แบบ
   ค.   ๓   แบบ                                          ง.   ๔   แบบ
185.   การตั้งรับแบบพื้นที่นั้น  จะวางกำลังในพื้นที่การรบส่วนหน้าอย่างไร
ก.       วางกำลังทั้งหมดในพื้นที่การรบทั้งส่วนหน้า  และส่วนหลัง
ข.       วางกำลังส่วนน้อยไว้ในพื้นที่การรบส่วนหลัง
ค.       วางกำลังส่วนน้อยไว้ในพื้นที่การรบส่วนหน้า
ง.       ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
186.   การวางกำลังส่วนน้อยไว้ในพื้นที่การรบนั้น  กำลังส่วนนั้นทำหน้าที่เป็น
   ก.   กองระวังหน้า                                    ข.   กองระวังหลัง
   ค.   กองหนุน                                          ง.   กองกระหนาบ

187.   การตั้งรับแบบเคลื่อนที่นั้นหน่วยระดับใดเป็นผู้จัด
   ก.   ระดับกองร้อย                                   ข.   ระดับกองพัน
   ค.   ระดับกรม                                        ง.   ระดับกองพล
188.   ตามปกติแล้วเราจะแบ่งพื้นที่ในการตั้งรับออกเป็น  กี่ส่วน
   ก.   ๑   ส่วน                                         ข.   ๒   ส่วน
   ค.   ๓   ส่วน                                         ง.   ๔   ส่วน
189.   แนวกองรักษาด่านทั่วไป ( กทป. )  จะอยู่ห่างจากแนว  ( ขนพร. )  ประมาณกี่กิโลเมตร
   ก.   ๕ - ๑๐   กิโลเมตร                           ข.   ๑๐ - ๑๒   กิโลเมตร
   ค.   ๘ - ๑๖   กิโลเมตร                           ง.   ๑๖ - ๒๑   กิโลเมตร
190.   แนวกองรักษาด่านรบ  ( กดร. ) จะอยู่ห่างจากแนว  ( ขนพร. )  ประมาณกี่กิโลเมตร
   ก.   ๙๐๐ - ๑๒๐๐   เมตร                        ข.   ๑,๐๐๐ - ๒,๔๐๐   เมตร
   ค.   ๑,๒๐๐ - ๒๔๐๐   เมตร                     ง.   ๑,๔๐๐ - ๒,๖๐๐   เมตร
191.   ส่วนระวังป้องกันเฉพาะตำบลนั้นวางห่างจากแนว ( ขนพร. )  ออกไปไม่เกินกี่เมตร
   ก.   ๔๐๐   เมตร                                   ข.   ๕๐๐   เมตร
   ค.   ๖๐๐   เมตร                                   ง.   ๗๐๐   เมตร
192.   ในการตั้งรับของ หมู่ ปล.นั้น  มีภารกิจสำคัญที่จะต้องยึดถือเป็นหนทางปฏิบัติอยู่กี่ประการ
   ก.   ๑   ประการ                                    ข.   ๒   ประการ
   ค.   ๓   ประการ                                    ง.   ๔   ประการ
193.   ข้อใดไปอยู่ในขั้นของการตั้งรับ
ก.  การปฏิบัติการในที่รวมพล             ข.  การเคลื่อนย้ายไปประจำแนวตั้งรับ
ค.  การทำแผนการยิงของ หมู่            ง.  การดัดแปลงภูมิประเทศ  และการเตรียมการอื่นๆ
194.   ลำดับแรกที่  ผบ.หมู่  จะต้องปฏิบัติ  เมื่อนำทหารเข้าที่รวมพลแล้ว  คือ
   ก.   ดัดแปลงภูมิประเทศ                     ข.   กำหนดที่วางตัว
   ค.   มอบเขตการยิง                           ง.   ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
195.   สำหรับหน้าที่ของทุกคนภายในหมู่  จะต้องถือปฏิบัติในระหว่างการเคลื่อนที่ไปประจำแนวตั้งรับ
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก.       จะต้องเคลื่อนที่ประจำอยู่ในรูปขบวนเดิม  ตามที่ ผบ.หมู่ กำหนด  ตามตำแหน่งในรูปขบวน
ข.       ให้ถืออาวุธในสภาพที่จะใช้ยิงได้ทันที
ค.       ไม่ส่งเสียงดัง  หรือพูดคุยกันในระหว่างเคลื่อนที่
ง.       ถูกทุกข้อ
196.   คำสั่งการตั้งรับของ  ผบ.หมู่  มีทั้งหมดกี่ข้อ
   ก.   ๔   ข้อ                                      ข.   ๕   ข้อ
   ค.   ๖   ข้อ                                      ง.   ๗   ข้อ

197.   ลำดับความเร่งด่วนในการดัดแปลงภูมิประเทศนั้น  สิ่งที่ต้องปฏิบัติเป็นลำดับแรก  คือ
   ก.   การขุดหลุมบุคคล  และที่ตั้งยิง        ข.   การดัดแปลงที่มั่นจริง
   ค.   การถากถางพื้นการยิง                    ง.   การพราง
198.   การถากถางพื้นการยิงนั้นจะต้องกำจัดสิ่งที่มาบังทิศทางการยิง  และตรวจการณ์  ให้สามารถยิง  และตรวจการณ์ไปข้างหน้าได้ในระยะเท่าใด
   ก.   ไม่น้อยกว่า   ๕๐   เมตร          ข.   ไม่น้อยกว่า   ๑๐๐   เมตร
   ค.   ไม่น้อยกว่า   ๒๐๐   เมตร        ง.   ไม่มีข้อใดถูก
199.   แผ่นจดระยะ  มีสิ่งสำคัญที่ต้องจดจำหลักในการทำ  ทำเป็นเส้นโค้งครึ่งวงกลมแสดงลายเส้นห่างกันเส้นละกี่เมตร
   ก.   ๑๐๐   เมตร                       ข.   ๒๐๐   เมตร
   ค.   ๓๐๐   เมตร                       ง.   ๔๐๐   เมตร
200.   การเตรียมการยิงสำหรับปืนเล็กมีกี่วิธี
   ก.   ๑   วิธี                              ข.   ๒   วิธี
   ค.   ๓   วิธี                              ง.   ๔   วิธี
201.   ถ้าข้าศึกเคลื่อนที่เข้ามาจนถึงระยะที่ฝ่ายตั้งรับจะต้องทำการยิงฉากเป็นขั้นสุดท้าย  ถามว่าระยะนี้จะห่างจากขอบหน้าพื้นที่การรบ  ประมาณกี่ร้อยเมตร
   ก.   ๒๐๐   เมตร                        ข.   ๓๐๐   เมตร
   ค.   ๔๐๐   เมตร                        ง.   ๕๐๐   เมตร
202.   การปฏิบัติการร่นถอย  ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
   ก.   การถอนตัว                         ข.   การรบหน่วงเวลา
   ค.   การออมกำลัง                     ง.   การถอย
203.   การใช้ยานพาหนะในการเคลื่อนย้ายระหว่างการร่นถอยนั้น  ถ้าเลือกได้เรามักใช้ยานพาหนะชนิดใด
   ก.   รถถัง                                 ข.   รถบรรทุก
   ค.   รถสายพาน                         ง.   รถหุ้มเกราะ
204.   การถอนตัวในเวลากลางคืนนั้น  ผบ. ลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศที่ตั้งใหม่ข้างหลัง  คือ
   ก.   ผบ.ร้อย                             ข.   ผบ.มว.
   ค.   ผบ.มว. ค. ๖๐                     ง.    ผบ. หมู่
205.   ตามปกติแล้วกำลังส่วนที่เหลือทิ้งไว้ปะทะของหมวดจะประกอบด้วย  กำลังเท่าใด
   ก.   ๑   หมู่ ปล.                         ข.   ๒   หมู่ ปล.
   ค.   ๓   หมู่ ปล.                         ง.   ๔   หมู่ ปล.
206.   ใครคือผู้ที่ได้รับมอบให้บังคับบัญชากำลังส่วนที่เหลือไว้ปะทะของกองร้อย
   ก.   ผบ.มว.                               ข.   ผบ.มว.ค.  ๖๐
   ค.   รอง ผบ.ร้อย                        ง.   นายสิบประจำหมวด
207.   ๑  มว.ปล.  มีปืนกล เอ็ม  ๖๐  สนับสนุนอยู่กี่กระบอก
   ก.   ๑   กระบอก                          ข.   ๒   กระบอก
   ค.   ๓   กระบอก                         ง.   ๔   กระบอก
208.   ปืนกลของหมวดปืนเล็กมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการตั้งรับ  ที่กล่าวมานี้ข้อใดไม่ถูก
ก.       ให้การยิงด้วยวิธีเล็งตรง  ได้อย่างหนาแน่น
ข.       ทำการยิงกวาดได้จนถึงระยะ  ๔๐๐  เมตร
ค.       ให้อำนาจการยิงอย่างต่อเนื่องในห้วงเวลายาวนาน
ง.       สามารถยิงเป้าหมายอย่างได้ผลในระยะยิงถึง  ๑,๑๐๐  เมตร
209.   การกำหนดที่ตั้งยิงของปืนกล เอ็ม  ๖๐  นั้น  ใครเป็นผู้กำหนด
   ก.   ผบ.พัน                                ข.   ผบ.ร้อย
   ค.   ผบ.มว.                               ง.   ผบ. หมู่ ปก.
210.   ถ้าสถานการณ์  และพื้นที่ตั้งรับอำนวย  จะใช้ปืนกลตั้งยิงเป็นคู่ซึ่งจะมีระยะเคียง  ระหว่างที่ตั้งปืนแต่ละกระบอก  ประมาณกี่เมตร
   ก.   ๑๐   เมตร                            ข.   ๒๐   เมตร
   ค.   ๓๐   เมตร                           ง.   ๔๐   เมตร

211.   ปืนกล เอ็ม ๖๐  ย่อมมีความแม่นยำเมื่อตั้งยิงบนขาหยั่ง  ขาหยั่งของปืนสามารถทำการยิงส่ายได้ประมาณกี่มิลเลียม
   ก.   ๘๕๗   มิลเลียม                                                         ข.   ๘๗๕   มิลเลียม
   ค.   ๕๗๘   มิลเลียม                                                         ง.   ๕๘๗   มิลเลียม
212.   ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง  ในการเลือกที่ตั้งยิงปืนกล เอ็ม  ๖๐
ก.       มีพื้นการยิง  และการตรวจการณ์ดี
ข.       สามารถยิงกวาดไปยังแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้ายได้
ค.       มีการกำบัง  และการซ่อนพรางดี
ง.       ได้รับการคุ้มตรองป้องกันจากกองร้อย
วิชาการสงครามพิเศษ 
213. ปัจจัยผลสำเร็จในการซุ่มโจมตี ?
ก.   การจู่โจม, รวดเร็ว, อดทน                                      การจู่โจม,การประสานการยิง,การบังคับบัญชา
.   การปฏิบัติอย่างรุนแรง                                            ถูกทุกข้อ
214. การตีโฉบฉวยเป็นภารกิจอะไรในการ ลว. ?
ก.     การ ลว.หาข่าว                                                          การ ลว.ออมกำลัง
.   กรร ลว.รบ                                                                  ภารกิจพิเศษ
215. ปัจจัยสำคัญในการดำรงชีพที่สำคัญมีอะไรบ้าง ?
ก.       อาหาร,น้ำ,ที่พัก                                                       . น้ำ,ยารักษาโรค,อาวุธประจำกาย
ข.       อาหาร,ยานพาหนะ,เข็มทิศ                                   อาหาร,น้ำ,ยานพาหนะ
216. สถานการณ์ที่จะต้องหลีกเลี่ยงการปะทะแสดงว่าหน่วย ลว.มีภารกิจอะไร ?
ก.       ภารกิจ  ลว. หาข่าว                                                  ภารกิจ ลว.รบ
ข.       ภารกิจตีโฉบฉวย                                                     ภารกิจซุ่มโจมตี
217. สิ่งที่สำคัญในการดำรงชีพได้แก่อะไร ?
ก.       กำลังใจและความตั้งใจ                                          ความคิดเอาชีวิตรอด
.   ระงับความหวาดกลัว                                               ความรู้ความเข้าใจในการดำรงชีพ
218. การสะกดรอยเราสามารถแบ่งเป็นประเภทการสะกดรอยได้กี่ประเภท ?
                .         ประเภท                                                            .         ประเภท
                .         ประเภท                                                            .          ประเภท
219. ประเภทของรอยเท้าหาได้ตามลักษณะมี    ประเภท  อะไรบ้าง ?
ก.       บนพื้นดิน, ระดับสูง                                               บนพื้นดิน, ในน้ำ
.    บนดิน, บนต้นไม้                                                     บนต้นหญ้า, กิ่งไม้
220. การแสวงหาอาหารในป่าแบ่งเป็นชนิดใหม่ ๆ ได้กี่ชนิด ?
                .         ประเภท                                                            .         ประเภท
                .         ประเภท                                                            .          ประเภท
221. วิธีการส่งทางอากาศแบ่งออกได้กี่วิธี ?
                .         วิธี                                                                      .         วิธี
                .         วิธี                                                                       . ไม่มีข้อใดถูก
222. วิธีการส่งทางอากาศวิธีใดประหยัดที่สุด ?
ก.       การทิ้งของโดยการใช้ร่ม                                       การทิ้งของโดยไม่ใช้ร่ม
.    การใช้เครื่องบินลงสู่พื้น                                        ถูกทุกข้อ
223. สถานการณ์ที่จะต้องหลีกเลี่ยงการปะทะแสดงว่าหน่วย ลว. มีภารกิจอะไร?
ก.       ภารกิจ ลว. หาข่าว                                                   ภารกิจ ลว. รบ
.    ภารกิจ  ตีโฉบฉวย                                                   ภารกิจ ซุ่มโจมตี
224. การปฎิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อปะทะ ขศ.ได้เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดคืออะไร ?
ก.       การซุ่มโจมตี                                                             การโจมตีเร่งด่วน
.   การปฎิบัติฉับพลัน                                                   ถูกทุกข้อ
225. การซุ่มโจมตี มี ๒ แบบ อะไรบ้าง ?
ก.       เป็นหมู่ และหมวด                                                  เป็นจุด และเป็นพื้นที่
.   เป็นกองร้อย และกองพัน                                       แถวตอน และหน้ากระดาน

226. ภารกิจกำหนดให้เข้าตีที่ตั้งหรือพื้นที่วางกำลัง ขศ.คือการรบแบบใด ?
ก.       การปฎิบัติฉับพลัน                                                  การซุ่มโจมตี
.   การเข้าตีที่มั่นข้าศึก                                                   การตีโฉบฉวย
227. ปัจจัยสำคัญของการตีโฉบฉวยคืออะไร ?
ก.       จู่โจม                                                                          อำนาจการยิง
.    ปฎิบัติการอย่างรุนแรง                                           ถูกทุกข้อ
228. การจัดกำลังในการตีโฉบฉวยแบ่งออกเป็นกี่ส่วน?
                  ส่วน                                                                          ส่วน
                  ส่วน                                                                          ส่วน
229. การแบ่งป่าตามลักษณะต้นไม้แบ่งออกได้เป็น    แบบคือ ?
ก.       ป่าดงดิบ,ป่าเบญจพรรณ                                        ป่าผลัดใบ,ป่าโปร่ง
.   ป่าดงดิบ,ป่าโปร่ง                                                      ป่าดงดิบ,ป่าผลัดใบ
230. คนเราต้องการน้ำวันละประมาณกี่ลิตร ?
                -   ลิตร                                                                  -   ลิตร
                  ลิตร                                                                  ง -   ลิตร
231. ลำดับขั้นการตีโฉบฉวยมีกี่ขั้น ?
                .      ขั้น                                                                         ข.      ขั้น
                .       ขั้น                                                                        ง.      ๖   ขั้น
232. การปฏิบัติโดยฉับพลันคือ การกระทำที่เกิดขึ้นทันทีทันใดซึ่งเป็นการการะทำอย่างไร
ก.   กระทำอย่างจู่โจม
ปฏิบัติด้วยความรวดเร็วและรุนแรง
การกระทำอย่างมีหลักเกณฑ์และกำหนดไว้อย่างแน่นอน 
ถูกทุกข้อ
233. สถานการณ์ที่ต้องหลีกเลี่ยงการปะทะแสดงว่าหน่วยลาดตระเวนมีภารกิจใด
ก.  ภารกิจการลาดตระเวนหาข่าว                                 มีภารกิจหลัก
มีภารกิจตรวจค้นและการซุ่มโจมตี                         ถูกทั้งข้อ    และ  ข้อ ๓
234. ท่าสัญญาณในการปฏิบัติโดยฉับพลันที่เป็นแบบมาตรฐานมีการกำหนดไว้แบบใด
ก.        ผบ.หน่วยกำหนดขึ้นใช้เอง                                 กำหนดไว้แบบตายตัว
.   กำหนดขึ้นตามแบบฝึก                                            ไม่มีข้อถูก
235. ลักษณะของการปฏิบัติโดยฉับพลันมีกี่ลักษณะ
                ก.  ๕  ลักษณะ                                                                  ๖   ลักษณะ
  ลักษณะ                                                                     ลักษณะ
236. แบบของการซุ่มโจมตี มี    แบบ คือ
                ก.  ๕  ลักษณะ                                                                  ๖   ลักษณะ
  ลักษณะ                                                                     ลักษณะ
237. ประเภทของการซุ่มการซุ่มโจมตี แบ่งออกเป็น    ประเภท คือ
ก.       การซุ่มโจมตีเป็นจุด และเป็นพื้นที่                     การซุ่มโจมตีเร่งด่วน และปราณีต
.   การซุ่มโจมตีเป็นพื้นที่และเป็นเขต                       การซุ่มโจมตีเป็นแนวและเป็นเขต
238. หลักพื้นฐานของความสำเร็จในการซุ่มโจมตีมี    ประการ คือ  การจู่โจม, การประสานการยิงและ
ก.       การประสานการยิง                                                ขการควบคุม
.   การจู่โจม                                                                     การปฏิบัติอย่างรุนแรง
239. ความมุ่งหมายประการหนึ่งของการตีโฉบฉวย  กระทำเพื่อ
ก.   ปลดปล่อยผู้ตกเป็นเชลย                                         หันเหความสนใจ
รบกวนข้าศึก                                                               เฝ้าตรวจ
240. การเคลื่อนที่เข้าสู่ที่หมาย อยู่ในขั้นที่เท่าไรของการตีโฉบฉวย
ก.    ขั้นที่                                                                         ขั้นที่ 
                ขั้นที่                                                                          ขั้นที่ 
241. การแจ้งการเข้ามาของข้าศึกให้ฝ่ายเราทราบเป็นหน้าที่ของ
ก.        บก.หน่วยลาดตระเวน                                           ส่วนระวังป้องกัน
                .    ส่วนโจมตี                                                                  ส่วนสนับสนุน
242. ปัญหาต่างๆ อันเกี่ยวกับการการดำรงชีพในป่าแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้    ประเภท คือ
ก.        อาหาร,น้ำ,ที่พัก                                                      น้ำ,ยารักรักษาโรค,อาวุธประจำกาย
                .   อาหาร,ยานพาหนะ,เข็มทิศ                                    อาหาร,น้ำ,ยานพาหนะ
243การดื่มน้ำในลำธาร  ห้วยหนอง  คลองบึง  อาจมีอันตรนายจากเชื้อโรค เราควรปฏิบัติ ดังนี้
ก.  ใช้ผ้ากรองน้ำก่อนดื่ม                                                                               
ข.    ต้มน้ำพออุ่นแล้วดื่ม
                .   ใช้ยาฮาราโซน    เม็ดต่อน้ำ    กระติกทิ้งไว้  ๓๐  นาที   
ดื่มน้ำบริเวณต้นทางน้ำไหล
244สำหรับงูในประเทศไทยจะมีอยู่ประมาณ   กี่ชนิด
                ก.   ๑๕๘    ชนิด                                                              ๑๖๑    ชนิด
                .   ๑๖๐     ชนิด                                                               ๑๕๙     ชนิด
245ศิลปะในการติดตามบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มคนโดยใช้เครื่องหมายร่องรอยเรียกว่าอะไร
ก.  การลาดตระเวน                                                         การสะกดรอย
                การซุ่มโจมตี                                                                การหาข่าว.
246ประเภทของรอยแบ่งออกเป็น    ประเภท คืออะไร
ก.   รอยบนดิน รอยเท้า                                                รอยระดับสูง - รอยต่ำ
                .   รอยบนดิน - รอยระดับสูง                                       .   ถูกทุกข้อ
247ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ผลทราบต่อการสะกดรอย
ก.   แสงแดด                                                                     ฝน
                .   ลม                                                                                สัตว์
248การส่งกำลังแบ่งประเภทการขนส่งออกเป็นกี่ประเภท
                ก.    ๔    ประเภท                                                             .        ประเภท
                .         ประเภท                                                               ๗     ประเภท
249เหตุที่มีการทำให้มีการสนับสนุนในการส่งกำลังทางอากาศเพราะอะไร
ก.        ภูมิประเทศขัดขวาง                                                ข้าศึกขัดขวาง
                .    ระยะทางขัดขวาง                                                    .   ถูกทุกข้อ
250ข้อใดไม่ใช่ส่วนของการจัดกำลังในการส่งของทางอากาศ
ก.       ส่วนบังคับบัญชา                                                     ส่วนระวังป้องกัน
                .    ส่วนโจมตี                                                                  ส่วนทำสนาม
251. การปฏิบัติโดยฉับพลันคือ การกระทำที่เกิดขึ้นทันทีทันใดซึ่งเป็นการการะทำอย่างไร
                ก.  กระทำอย่างจู่โจม                                                      
                ปฏิบัติด้วยความรวดเร็วและรุนแรง
                คการกระทำอย่างมีหลักเกณฑ์และกำหนดไว้อย่างแน่นอน        
                งถูกทุกข้อ