ข่าวอัปเดต

แนวความรู้ในการเตรียมตัวสอบซ่อมภาคทฤษฎี นศท.ชั้นปีที่ ๓ ชาย

ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิชา การอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศ
๑. การเล็งสกัดกลับประกอบแนวจะใช้จุดเด่นเพียงจุดเดียวแต่จะต้องอาศัยสิ่งใดในภูมิประเทศเป็นแนวประกอบ
ก. ลำธาร ข. ถนน
ค. ทางรถไฟ ง. ถูกทุกข้อ
๒. ลักษณะทรวดทรงของประเทศ เช่น เส้นชั้นความสูง ใช้พิมพ์ด้วยสีอะไร
ก. สีน้ำตาล ข. สีแดง
ค. สีเขียว ง. ถูกทุกข้อ
๓. มุมภาคทิศเหนือกลับหรือมุมตรงกันข้าม จะมีหลักเกณฑ์การคิดอย่างไร
ก. มุมเกิน ๑๘๐ องศา เอา ๑๘๐ องศา ไปลบ มุมไม่เกิน ๑๘๐ องศา เอา ๑๘๐ องศา ไปบวก
ข. มุมเกิน ๑๘๐ องศา เอา ๙๐ องศา ไปลบ มุมไม่เกิน ๑๘๐ องศา เอา ๙๐ องศา ไปบวก
ค. มุมเกิน ๑๘๐ องศา เอาไปลบออกจาก ๓๖๐ องศา มุมไม่เกิน ๑๘๐ องศา เอา ๓๖๐ องศา ไปบวก
ง. มุมเกิน ๑๘๐ องศา เอาไปลบออกจาก ๒๗๐ องศา มุมไม่เกิน ๑๘๐ องศา เอา ๒๗๐ องศา ไปบวก
๔. เส้นชั้นความสูงที่มีสีน้ำตาลเข้มและมีตัวเลขค่าความสูงกำกับไว้เรียกว่าเส้นชั้นความสูงอะไร
ก. เส้นชั้นความสูงหลัก ข. เส้นชั้นความสูงรอง
ค. เส้นชั้นความสูงแทรก ง. เส้นชั้นความสูงดีเพรสชั่น
วิชา แบบธรรมเนียมทหาร
๕. สด. ๙ หมายถึง
ก. สมุดประจำตัวทหารกองหนุน ข. ใบสำคัญทหารกองเกิน
ค. ใบแสดงตน ง. หนังสือสำคัญแสดงวิทยฐานะสำเร็จ
๖. นศท. ชั้นปีที่ ๓ ที่สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือการศึกษาด้านวิชาชีพ ซึ่งมีหลักสูตรกำหนดไว้
ไม่น้อยกว่า ๓ ปี เมื่อได้ขึ้นทะเบียนกองประจำการและปลดเป็นทหารกองหนุนตามกฎหมาย. ว่าด้วยการ
รับราชการทหารแล้ว จะได้รับการแต่งตั้งยศเป็น
ก. สิบตรี ข. สิบโท
ค. สิบเอก ง. จ่าสิบตรี
วิชา การกำลังสำรอง
๗. การเลื่อนยศกำลังพลสำรองประเภทนายทหารสัญญาบัตร จะได้รับการเลื่อนยศสูงขึ้นไม่เกินยศใด
ก. ว่าที่ ร้อยเอก ข. ว่าที่พันตรี
ค. ว่าที่พันเอก ง. ว่าที่พลตรี
๘. นโยบายกองทัพบกได้กำหนด ให้กำลังพลสำรองสามารถจะทำการรบได้ เมื่อมีการเรียกพล หรือ ระดมพล
ให้พร้อมรบภายในไม่เกินกี่ ชม.
ก. ๒๔ ชม. ข. ๔๘ ชม.
ค. ๗๒ ชม. ง. ๙๖ ชม.
วิชา การข่าวเบื้องต้น
๙. สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นองค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ายใด
ก. ฝ่ายตำรวจ ข. ฝ่ายพลเรือน
ค. ฝ่ายทหาร ง. ถูกทุกข้อ
วิชา ครูทหาร/ผู้นำ
๑๐. การที่ครูได้แสดงออกซึ่งน้ำเสียงที่ชวนฟังไม่พูดช้าหรือเร็วเกินไปและมีสีหน้าแววตาสดใส ท่าทางทะมัด
ทะแมง แสดงว่าครูได้ตระหนักถึงการเป็นครูที่ดีในเรื่องอะไร
ก. ความเพียร ข. ความสามารถ
ค. ความมีไหวพริบ ง. ความกระตือรือร้น
๑๑. ผู้นำที่เผชิญอันตรายหรือวิกฤตการณ์ได้อย่างสงบและมั่นคง ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในสถานการณ์คุกคาม
แสดงมีคุณลักษณะของผู้นำตรงกับข้อใด
ก. ความกล้าหาญ ข. ความเด็ดขาด
ค. ความอดทน ง. ความรู้จักกาลเทศะ
๑๒. ครูหม่น รูปหล่อทำงานร่วมกับเพื่อนครูที่โรงเรียนโคกสูงเนินตลอดระยะเวลา ๕ ปีโดยไม่มีความขัดแย้งกับ
เพื่อนครูคนใดเลย แสดงว่าครูหม่นมีคุณสมบัติของการเป็นครูที่ดีในเรื่องอะไร
ก. ความเพียร ข. การรู้จักกาลเทศะ
ค. ความมีไหวพริบ ง. ความซื่อตรงต่อหน้าที่
วิชา ปรับการยิง ป./ค.
๑๓. เครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ตรวจการณ์หน้ามีหลายชนิด เครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นและขาดไม่ได้สำหรับ
ผตน. ได้แก่อะไร
ก. กล้องส่อง ข. แผนที่เข็มทิศ
ค. ภาพสังเขป ง. การวัดมุมด้วยนิ้วมือ
๑๔. “...................................................................” ปรับการยิงพิกัด, พิกัด ๔๒๕๐ ๖๒๕๐ มุมภาค ๒,๐๐๐
ปืนกลข้าศึก ๒ กระบอก” คำพูดที่ขาดไป ได้แก่หัวข้อคำขอยิง อะไร
ก. คำเตือน ข. วิธีโจมตี
ค. วิธียิง ง. การแสดงตนของ ผตน.
๑๕. เมื่อ ผตน.บอกที่ตั้งเป้าหมายแล้ว ซึ่งเป็นหัวข้อคำขอยิงข้อที่ ๓ ต่อไปจะต้องบอก หัวข้อ คำขอยิง
ข้อที่ ๔ คืออะไร
ก. การแสดงตน ฯ ข. ลักษณะเป้าหมาย
ค. ที่ตั้งเป้าหมาย ง. วิธีโจมตี
วิชา ปืนกล เอ็ม ๖๐
๑๖. ปืนกล เอ็ม ๖๐ จัดเป็นอาวุธทหารราบประเภทใด
ก. อาวุธประจำหน่วย ข. อาวุธประจำกาย
ค. อาวุธประจำตัว ง. อาวุธประจำหมู่
๑๗. หมู่ปืนกล เอ็ม ๖๐ มีปืนกลกี่กระบอก
ก. ๑ กระบอก ข. ๒ กระบอก
ค. ๓ กระบอก ง. ๔ กระบอก
วิชา เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๖๐ มม.
๑๘. เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๖๐ มม. เอ็ม.๒ หนักกี่ปอนด์
ก. ๒๔ ปอนด์ ข. ๔๒ ปอนด์
ค. ๒๔.๕ ปอนด์ ง. ๔๒.๕ ปอนด์
๑๙. เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๖๐ มม. มีชิ้นส่วนใหญ่ๆ กี่ชิ้นส่วน
ก. ๒ ชิ้นส่วน ข. ๓ ชิ้นส่วน
ค. ๔ ชิ้นส่วน ง. ๕ ชิ้นส่วน
วิชา หมู่ปืนเล็กในการเข้าตี
๒๐. การรบที่จะต้องเคลื่อนที่เข้าไปให้ถึงตัวข้าศึก เพื่อยึดยื้อแย่งดินแดนหรือที่พื้นที่ข้าศึกครองอยู่ หมายถึงข้อใด
ก. การรบด้วยวิธีรุก ข. การรบด้วยวิธีรับ
ค. การรบแบบร่นถอย ง. การรบแบบถอนตัว
๒๑. การรบด้วยวิธีรุก แบ่งขั้นการปฏิบัติเป็น ๒ ขั้น ได้แก่
ก. ขั้นเตรียมการเข้าตี , ขั้นปฏิบัติการเข้าตี ข. ขั้นเสริมความมั่นคง , ขั้นปฏิบัติการเข้าตี
ค. ขั้นเตรียมการเข้าตี , เคลื่อนที่เข้าปะทะ ง. ขั้นเคลื่อนที่เข้าปะทะ , ขั้นการเข้าตี
๒๒. คำสั่งยุทธการของหมู่ ปล. ในการเข้าตีมักจะออกด้วยวิธีใด
ก. ด้วยวาจา ข. ลายลักษณ์อักษร
ค. เครื่องมือสื่อสาร ง. ขึ้นอยู่กับเวลาที่มีอยู่ และสถานการณ์
๒๓. ข้อใด เรียงหัวข้อคำสั่งการเข้าตีของ ผบ.หมู่ ปก. ได้ถูกต้อง
ก. สถานการณ์ , ภารกิจ , การปฏิบัติ , การช่วยรบ , การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ข. ภารกิจ , สถานการณ์ , การปฏิบัติ , การช่วยรบ , การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ค. การปฏิบัติ , ภารกิจ , สถานการณ์ , การช่วยรบ , การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
ง. การช่วยรบ , ภารกิจ , สถานการณ์ , การช่วยรบ , การบังคับบัญชา และการสื่อสาร
วิชา หมู่ปืนเล็กในการตั้งรับ
๒๔. ที่ตั้งของปืนกลในการตั้งรับ แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ คือ
ก. ที่ตั้งยิงจริง , ที่ตั้งยิงสำรอง , ที่ตั้งยิงเพิ่มเติม ข. ที่ตั้งยิงจริง , ที่ตั้งยิงสำรอง , ที่ตั้งยิงขั้นที่ ๓
ค. ที่ตั้งยิงจริง , ที่ตั้งยิงสำรอง , ที่ตั้งยิงขั้นที่ ๔ ง. ที่ตั้งยิงจริง , ที่ตั้งยิงสำรอง , ที่ตั้งยิงขั้นสูงสุด
๒๕. แนวความคิดในการตั้งรับตามปกติแล้วจะแบ่งพื้นที่ในการตั้งรับออกเป็น ๒ ส่วน อะไรบ้าง
ก. พื้นที่การรบ , พื้นที่กองหนุน ข. พื้นที่ส่วนระวังป้องกัน , พื้นที่การรบ
ค. พื้นที่ตั้งรับหน้า , พื้นที่กองหนุน ง. พื้นที่กองหนุน , พื้นที่ระวังป้องกัน
๒๖. ความลึกของ มว.ปล. ในการวางกำลังตั้งรับ ๕๐ – ๒๐๐ เมตร อยากทราบว่าความลึกของ หมู่ ปล. ใน
การวางกำลังตั้งรับมีความลึกเท่าใด
ก. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร ข. ๕๐ – ๒๐๐ เมตร
ค. ๒๐๐ – ๒๕๐ เมตร ง. ๒๕๐ – ๓๐๐ เมตร
๒๗. หมู่ ปล. ในการวางกำลังตั้งรับ จะมีความกว้างด้านหน้า ๓๐ – ๑๐๐ เมตร หากมีปืนกลมาตั้งยิงในพื้นที่
ของหมู่ จะขยายไปไม่เกินกี่เมตร
ก. ๑๐๐ เมตร ข. ๑๑๐ เมตร
ค. ๑๒๐ เมตร ง. ๑๒๕ เมตร
วิชา การสงครามพิเศษ
๒๘. ปัจจัยผลสำเร็จในการซุ่มโจมตีคือ
ก. การจู่โจม, รวดเร็ว, อดทน ข. การจู่โจม,การประสานการยิง,การบังคับบัญชา
ค. การปฏิบัติอย่างรุนแรง ง. ถูกทุกข้อ
๒๙. ความมุ่งหมายประการหนึ่งของการตีโฉบฉวย กระทำเพื่ออะไร
ก. ปลดปล่อยผู้ตกเป็นเชลย ข. หันเหความสนใจ
ค. รบกวนข้าศึก ง. เฝ้าตรวจ
๓๐. การปฎิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อปะทะ ขศ.ได้เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดคืออะไร
ก. การซุ่มโจมตี ข. การโจมตีเร่งด่วน
ค.. การปฏิบัติฉับพลัน ง. ถูกทุกข้อ
วิชา เหล่าทหารราบ
๓๑. ในการปฏิบัติการรบ กองทัพบกถือว่าเหล่าทหารเหล่าใดเป็นเหล่าหลักในการรบ
ก. เหล่าทหารราบ ข. เหล่าทหารม้า
ค. เหล่าทหารปืนใหญ่ ง. เหล่าทหารช่าง
๓๒. ข้อใดเป็นภารกิจหลักที่สำคัญของทหารราบ
ก. การเข้าตีและการตั้งรับ ข. การเข้าตีและลาดตระเวน
ค. การเข้าตีและการร่นถอย ง. การเข้าตีและการรบหน่วงเวลา
๓๓. หนึ่งหมวดปืนเล็กประกอบด้วย
ก. กองบังคับการ มว. , หนึ่งหมู่ ปก. , สามหมู่ปืนเล็ก
ข. กองบังคับการ มว. , สองหมู่ ปก. , สามหมู่ปืนเล็ก
ค. กองบังคับการ มว. , สามหมู่ ปก. , สามหมู่ปืนเล็ก
ง. กองบังคับการ หมู่ , สามหมู่ ปก. , สองหมู่ปืนเล็ก
๓๔. ตามปกติทหารราบจะสามารถเคลื่อนที่ด้วยเท้าได้ระยะจำกัด กี่ กม./ชม.
ก. ๑ – ๒ กม./ชม. ข. ๓ – ๔ กม./ชม.
ค. ๔ – ๕ กม./ชม. ง. ๔ – ๑๐ กม./ชม.
๓๕. หนึ่งกรมทหารราบมีกี่กองพันทหารราบ
ก. ๒ กองพันทหารราบ ข. ๓ กองพันทหารราบ
ค. ๔ กองพันทหารราบ ง. ๕ กองพันทหารราบ
วิชา เหล่าทหารม้า
๓๖. อำนาจการยิงภายใต้เกราะกำบัง, อำนาจการทำลายและข่มขวัญ,การติดต่อสื่อสารที่กว้างไกลและอ่อนตัว
ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่,การตอบสนองคำสั่ง คือ
ก. ภารกิจของทหารม้า ข. ขีดความสามารถของทหารม้า
ค. บทบาทของทหารม้า ง. คุณลักษณะของทหารม้า
๓๗. ทหารม้ามาตรฐานในกองทัพบกมี ๓ ประเภท
ก. ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ,ทหารม้าลาดตระเวน,ทหารม้าอากาศ
ข. ทหารม้ารถถัง,ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ,ทหารม้าลาดตระเวน
ค. ทหารม้าลาดตระเวน,ทหารม้ารถถัง,ทหารม้าต่าง ๆ
ง. ทหารม้าขี่ม้า,ทหารม้ารถถัง,ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ
๓๘. ทหารม้า ๑ กองร้อยรถถัง ประกอบด้วยรถถังจำนวนกี่คัน
ก. ๑๖ คัน ข. ๑๗ คัน
ค. ๑๘ คัน ง. ๒๐ คัน
๓๙. ขีดจำกัดของรถถังที่เกิดจากตนเองได้แก่
ก. ภูมิประเทศ ข. เครื่องกีดขวาง
ค. ลมฟ้าอากาศ ง. การส่งกำลังบำรุง และส่งกลับ
วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่
๔๐. ปบค.๙๕ ขนาด ๑๐๕ มม. แบบ เอ็ม ๑๐๑ (ปรับปรุง) จัดเป็นปืนใหญ่ขนาดใด
ก. ปืนใหญ่เบา ข. ปืนใหญ่กลาง
ค. ปืนใหญ่หนัก ง. ปืนใหญ่หนักมาก
๔๑. ในกองพันทหารปืนใหญ่เบาลากจูงกระสุนวิถีโค้ง มีอัตราการจัดปืนใหญ่จำนวนกี่กระบอก
ก. ๑๒ กระบอก ข. ๑๔ กระบอก
ค. ๑๖ กระบอก ง. ๑๘ กระบอก
๔๒. ข้อใดไม่ใช่ขีดความสามารถของทหารปืนใหญ่สนาม
ก. สามารถยิงด้วยชนวน – กระสุนหลายชนิดผสมกันได้
ข. ส่องสว่างสนามรบได้
ค. ทำลายเป้าหมายเคลื่อนที่และเป้าหมายเป็นจุดได้อย่างจำกัด
ง. สามารถยิงสนับสนุนได้อย่างต่อเนื่อง
๔๓. เครื่องมือค้นหาเป้าหมายที่มีอยู่ในการควบคุมของทหารปืนใหญ่ ได้แก่
ก. ผู้ตรวจการณ์หน้าทางพื้นดิน และทางอากาศ ข. เรดาร์ตรวจจับการยิง ป.และ ค.
ค. เครื่องมือค้นหาเป้าหมายด้วยแสง – เสียง ง. ถูกทุกข้อ
๔๔. สมัยโบราณเราใช้ ปืนใหญ่ เป็นเครื่องมือในการทำสงครามเพื่อ
ก. ทำลายป้อมค่าย , ข่มขวัญข้าศึก ข. ทำลายแม่ทัพ
ค. ทำลายกำลังทหารและยุทโธปกรณ์ ง. ทำลายช้าง ม้า
วิชา เหล่าทหารช่าง
๔๕. การสร้างเครื่องกีดขวางเพื่อขัดขวางการเคลื่อนย้ายของข้าศึกเป็นภารกิจใดของทหารช่าง
ก. ภารกิจประจำ ข. ภารกิจมูลฐาน
ค. ภารกิจเฉพาะ ง. ภารกิจ ข้อ ก. และ ค.
๔๖. วัตถุระเบิดแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ก. ๒ ประเภท คือ วัตถุระเบิดแรงต่ำ กับทุ่นระเบิดแรงสูง
ข. ๒ ประเภท คือ วัตถุระเบิดแรงต่ำ กับวัตถุระเบิดแรงสูง
ค. ๓ ประเภท คือ วัตถุระเบิดขนาดเบา ขนาดกลาง ขนาดหนัก
ง. ๒ ประเภท คือ วัตถุระเบิดจริง กับวัตถุระเบิดฝึก
๔๗. ดินระเบิดแท่งที่นิยมใช้ในการทำดินระเบิดนำได้แก่
ก. ดินระเบิดไดนาไมท์ ข. ดินระเบิดเทคตริตอล
ค. ดินระเบิดที่เอ็นที ง. ดินระเบิดแท่ง เอ็ม ๑๑๒
๔๘. ระยะปลอดภัยในการจุดวัตถุระเบิดเท่าใด
ก. ๔๐๐ หลา ข. ๓๐๐ หลา
ค. ๒๐๐ หลา ง. ๑๐๐ หลา
วิชา เหล่าทหารสื่อสาร
๔๙. โทรศัพท์สนาม TA-๑/PT มีระยะการติดต่อประมาณ ๑๐-๑๖ กม. ใช้งานในหน่วยระดับใด
ก. หมู่ ข. หมู่-หมวด
ค. หมวด-กองร้อย ง. กองพัน ขึ้นไป
๕๐. วิธีการส่งข่าวด้วยวิธีใดมีความปลอดภัยน้อยที่สุด
ก. โทรศัพท์ ข.วิทยุ
ค. ไปรษณีย์ ง. พลนำสาร
๕๑. วิทยุ AN/PRC-๖๒๔ มีน้ำหนักเบา ติดต่อได้ประมาณ ๕-๘ ก.ม. ใช้งานในหน่วยระดับใด
ก. หมู่-หมวด ข. หมวด-กองร้อย
ค. กองร้อย-กองพัน ง. กองพัน-กรม
๕๒. วิทยุ AN/PRC-๗๗ ส่วนมากนิยมใช้งานแบบใด
ก. ติดตั้งบนโต๊ะ ข. ติดตั้งบนยานพาหนะ
ค. สะพายหลัง ง. แบกหาม
๕๓. วิทยุ AN/PRC-๗๗ เป็นชุดวิทยุขนาดเล็ก ทำการติดต่อระยะใกล้ มีการใช้งานระดับหมวดถึงกองพัน เมื่อ
ใช้เสาอากาศยาว ๑๐ ฟุต จะติดต่อได้ระยะเท่าไร
ก. ๘ ก.ม. ข. ๑๒ ก.ม.
ค. ๑๖ ก.ม. ง. ๒๐ ก.ม.
วิชา พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์
๕๔. หลักการพึ่งตนเองมี ๕ ประการ ยกเว้นข้อใดที่ไม่ใช่
ก. ด้านจิตใจ ข. ด้านอารมณ์
ค. ด้านสังคม ง. ด้านเทคโนโลยีและเศรษฐกิจ
๕๕. ความพอเพียง คืออะไร
ก. ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ข. ความขยันหมั่นเพียร
ค. การปรับสภาพให้เข้ากับสังคม ง. การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
วิชา อุดมการณ์ความรักชาติ
๕๖. หัวใจของความมั่นคงของชาติ คือ
ก. ความรัก ข. ความเสียสละ
ค. ความสงบสุข ง. ความปรารถนาดี
๕๗. พลังอำนาจของชาติ ประกอบด้วย
ก. การเมืองในประเทศ ข. ด้านแรงงาน
ค. ด้านเศรษฐกิจ ง. การเมืองระหว่างประเทศ
วิชา การพัฒนาสังคมและชุมชน
๕๘. อุปสรรคของการสร้างความสามัคคี คือ
ก. การใช้ความรุนแรง ข. การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว
ค. ความไม่เป็นธรรม ง. ถูกทุกข้อ
วิชา การปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน
๕๙. ข้อใดไม่ใช่อาการของโรคลมแพ้ร้อน
ก. หลอดลมอักเสบ ข. มีไข้สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
ค. สับสน มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน ง. สูญเสียหน้าที่ของอวัยวะ และเสียชีวิตได้
๖๐. ข้อใดไม่ใช่เป็นปัจจัยส่งเสริมทำให้เกิดการป่วยเจ็บเนื่องจากความร้อน
ก. สภาพอากาศร้อนจัด ไม่มีลมพัด ความชื้นของอากาศสูง
ข. ความไม่เคยชินต่อสภาพแวดล้อม
ค. ความร้อน
ง. ความแข็งแรงของร่างกาย

แนวความรู้ในการเตรียมตัวสอบซ่อมภาคทฤษฎี นศท.ชั้นปีที่ ๓ หญิง

ปีการศึกษา ๒๕๕๕

วิชา การอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศ
๑. การอ่านพิกัดกริด UTM ด้วยเส้นกริดตั้งและกริดนอนอ่านดังนี้
ก. อ่านไปทางขวาแล้วลงล่าง ข. อ่านไปทางขวาแล้วขึ้นบน
ค. อ่านไปทางซ้ายแล้วลงล่าง ง. อ่านไปทางซ้ายแล้วขึ้นบน
๒. เส้นชั้นความสูงหลักจะมีช่วงต่างห่างกันเท่าไร
ก. ๒๐ เมตร ข. ๕๐ เมตร ค. ๑๐๐ เมตร ง. ๓๐๐ เมตร
๓. เลขอักษรประจำเขตกริดโซนที่ใช้กับพิกัดกริด UTM จะเขียนไว้อย่างไร
ก. ๔๘๓๗ II ข. ๔๗ N ค. L ๗๐๑๗ ง. K – RTSD
๔. ทิศทางหลัก คือทิศทางที่ใช้เป็นแนวเริ่มต้นในการวัด หรือแนวศูนย์มีทิศทางใดบ้าง
ก. ทิศเหนือจริง ข. ทิศเหนือกริด ค. ทิศเหนือแม่เหล็ก ง. ถูกทุกข้อ
วิชา แบบธรรมเนียมทหาร
๕. สด. ๙ หมายถึง
ก. สมุดประจำตัวทหารกองหนุน ข. ใบสำคัญทหารกองเกิน
ค. ใบแสดงตน ง. หนังสือสำคัญแสดงวิทยฐานะสำเร็จ
๖. หลักฐานการสำเร็จการฝึกวิชาทหารชั้นปีที่ ๓ นศท. ที่ได้รายงานตัวขอรับสิทธิขึ้นทะเบียนกองประจำการ
แล้วจะได้รับ
ก. สด. ๓ ข. สด. ๙
ค. หนังสือสำคัญประจำตัวแสดงวิทยฐานะสอบได้วิชาทหาร ง. สด. ๑๐
๗. กรุงเทพมหานคร ขึ้นการบังคับบัญชาทางทหารกับจังหวัดทหารบกใด
ก. จังหวัดทหารบกกรุงเทพฯ ข. จังหวัดทหารบกกาญจนบุรี
ค. จังหวัดทหารบกปราจีนบุรี ง. จังหวัดทหารบกฉะเชิงเทรา
วิชา การกำลังสำรอง
๘. ระบบการฝึกศึกษากำลังพลสำรอง คือ ระบบใด
ก. ๓:๓:๔ ข. ๓:๔:๔ ค. ๑:๑:๑:๔ ง. ๑:๑:๑:๓
๙. สิทธิกำลังพลสำรองเมื่อเข้ารับการเรียกพลมีอะไรบ้าง
ก. เครื่องแต่งกาย ข. เบี้ยเลี้ยง,เงินเดือน ค. การเลื่อนยศ ง. ถูกทุกข้อ
๑๐. ประเภทของกำลังสำรองแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ กำลังพลสำรองขั้นต้น,กำลังพลสำรองเตรียมพร้อม
และกำลังพลสำรองทั่วไป กำลังพลสำรองอีกประเภทหนึ่งคืออะไร
ก. กำลังพลสำรองขั้นแรก ข. กำลังพลสำรองขั้นสูง
ค. กำลังพลสำรองพร้อมรบ ง. ถูกทุกข้อ
วิชา การข่าวเบื้องต้น
๑๑. วงรอบข่าวกรองแบ่งออกเป็นกี่ขั้นตอน
ก. ๓ ขั้นตอน ข. ๔ ขั้นตอน ค. ๕ ขั้นตอน ง. ๖ ขั้นตอน
๑๒. การตีความประกอบด้วยงาน ๓ ส่วน ยกเว้นข้อใด
ก. การวิเคราะห์ ข. การสังเคราะห์ ค. การสนธิ ง. การอนุมาน
วิชา ครูทหารผู้นำ
๑๓. การดำเนินการอาชีพใดๆจะต้องเรียนรู้หลักวิชาชีพนั้นๆเพื่อประกอบอาชีพของตนให้ดีที่สุด หลักวิชาชีพจึง
เปรียบเสมือนธงชัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ ข้อใดไม่ใช่เหตุผลในการเรียนวิชาครูทหาร
ก. เพื่ออบรมศิษย์ให้เป็นคนดี ข. เพื่ออบรมสั่งสอนตนเอง
ค. เพื่อเป็นหลักในการสั่งสอนผู้อื่น ง. เป็นอุปกรณ์ส่งเสริมวิชาชีพ
๑๔. ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของแต่ละบุคคลในหน่วยทหาร ที่มีต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นยศ
และอำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบ
ก. ผู้นำ ข. การบังคับบัญชา ค. ผู้บังคับบัญชา ง. การจัดการ
วิชา การติดต่อสื่อสาร
๑๕. มัชฌิมการสื่อสารแบ่งตามการใช้งานทางทหารออกเป็นข้อใด
ก. พลนำสาร ไปรษณีย์ สัตว์นำสาร โทรคมนาคม ข. โทรศัพท์ โทรเลข วิทยุ ดาวเทียม
ค. วิทยุ โทรศัพท์ พลนำสาร สัตว์นำสาร ง. พลนำสาร วิทยุ โทรศัพท์ ไปรษณีย์
๑๖. วิทยุ AN/PRC-๖๒๔ มีน้ำหนักเบา ติดต่อได้ประมาณ ๕-๘ ก.ม. ใช้งานในหน่วยระดับใด
ก. หมู่-หมวด ข. หมวด-กองร้อย ค. กองร้อย-กองพัน ง. กองพัน-กรม
วิชา นิวเคลียร์,ชีวะ,เคมี
๑๗. ผลอันตรายจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ จะปลดปล่อยพลังงานใดออกมามากที่สุด
ก. แรงระเบิด ข. รังสีความร้อน
ค. รังสีนิวเคลียร์ ง. คลื่นพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้า
๑๘. ข้อใดเป็นสารสังหาร
ก. สารประสาท สารพุพอง สารโลหิต สารสำลัก สารทำให้ไร้สมรรถภาพ
ข. สารประสาท สารพุพอง สารโลหิต สารสำลัก ทอกซิน
ค. สารประสาท สารพุพอง สารโลหิต สารออกฤทธิ์ทางจิต ทอกซิน
ง. สารพุพอง สารโลหิต สารออกฤทธิ์ทางจิต สารอาเจียน สารน้ำตาไหล
๑๙. การใช้อาวุธเคมี ข้อใดกล่าวผิด
ก. การส่ง แพร่ หรือกระจายสารเคมี กระทำได้ทางอากาศอย่างเดียว
ข. สารเคมีที่บรรจุภายในยุทธปัจจัยอาจมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส
ค. ถ้าให้เกิดอันตรายโดยการสูดหายใจ สารเคมีจะถูกปล่อยกระจายในลักษณะแอโรซอล
ง. ถ้าให้เกิดอันตรายจากการสัมผัสสารเคมีจะถูกปล่อยกระจายในลักษณะของเหลวระเหยยาก
วิชา ปลย.เอ็ม ๑๖
๒๐. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการทำงานของ ปลย.เอ็ม ๑๖ เอ ๑
ก. การเลื่อนลำกล้องออกและเข้า ข. การถอยหลังของลำกล้องปืน
ค. ทำงานด้วยแก๊ส ง. ทำงานด้วยส่วนเคลื่อนที่
๒๑. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับระยะยิงหวังผลของ ปลย.เอ็ม ๑๖ เอ ๑
ก. ๔๖๐ เมตร ข. ๕๐๐ เมตร ค. ๓๖๐ เมตร ง. ๔๐๐ เมตร
วิชา ลักษณะการรบโดยทั่วไป
๒๒. ทหารราบจัดอยู่ในเหล่าทหารที่มีหน้าที่ในบทบาทใด
ก. เหล่ารบ ข. เหล่าสนับสนุนการรบ
ค. เหล่าสนับสนุนการช่วยรบ ง. รบได้ทุกบทบาทที่กล่าว
๒๓. การตั้งรับมี ๒ แบบ ได้แก่
ก. แบบพื้นที่ , แบบเคลื่อนที่ ข. แบบพื้นที่ , แบบวงรอบ
ค. แบบเคลื่อนที่ , แบบวงรอบ ง. แบบเคลื่อนที่ , แบบระบบนาฬิกา
๒๔. การเตรียมการตั้งรับแบ่งเป็น ๔ ขั้นตอน ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การปฏิบัติในที่รวมพล ข. การเคลื่อนที่ผ่านเข้าประจำแนวตั้งรับ
ค. การสั่งการตั้งรับ ง. การลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศ
วิชา บุคคลทำการรบในเวลากลางวัน
๒๕. การเคลื่อนที่ผ่านลวดหนาม จะทำได้ ๒ วิธี คือ
ก. ก้าวข้าม , ลอดใต้ลวดหนาม ข. ก้าวข้าม , อ้อมผ่าน
ค. ก้าวข้าม , กระโดดข้าม ง. ลอดใต้ลวดหนาม , อ้อมผ่าน
๒๖. การฝึกหาระยะมีวิธีหาระยะอยู่วิธีหนึ่ง ซึ่งเมื่อกะระยะได้แล้วจะต้องตรวจสอบระยะที่กะนั้นด้วยวิธีเดินนับ
ก้าว วิธีนั้นคือ
ก. จากเสียง และแสง ข. จดจำลักษณะปรากฏของที่หมาย
ค. วัดระยะทางข้าง ง. โดยใช้หน่วยหลัก ๑๐๐ เมตร
วิชา บุคคลทำการรบในเวลากลางคืน
๒๗. การเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่โล่งแจ้ง ข้อใดปฏิบัติได้ถูกต้อง
ก. ถ้าระยะทางสั้น ๆ ให้ทำการข้ามผ่านไปพร้อมกันทั้งหน่วย
ข. ถ้าระยะทางสั้น ๆ ให้ทำการข้ามผ่านไปคราวละ ๒ คน
ค. ถ้าระยะทางไกลมาก ให้ทำการข้ามผ่านไปคราวละ ๒ คน
ง. ให้เคลื่อนที่เป็นแถวตอนเรียงหนึ่งทั้งหมวด และผ่านพร้อมกัน
๒๘. การปรับสายตาให้ชินกับความมืดต้องอยู่ในบริเวณที่มีแสงสีแดง ประมาณกี่นาที
ก. ๑๐ นาที ข. ๒๐ นาที ค. ๓๐ นาที ง. ๔๐ นาที
วิชา รูปขบวนทำการรบ
๒๙. รูปขบวนทำการรบของหมู่ ปล. มี ๒ รูปขบวนอะไรบ้าง
ก. รูปขบวนหมู่แถวตอน , รูปขบวนหมู่แถวหน้ากระดาน
ข. รูปขบวนหมู่แถวหน้ากระดาน , รูปขบวนหมู่แหลมหน้า
ค. รูปขบวนหมู่แถวตอน , รูปขบวนหมู่แหลมหน้า
ง. รูปขบวนหมู่แหลมหน้า , รูปขบวนหมู่แหลมหลัง
๓๐. ผู้บังคับหมู่ ปล.มีชั้นยศอะไร
ก. สิบตรี ข. สิบโท ค. สิบเอก ง. จ่าสิบเอก
๓๑. ในการจัดรูปขบวนหมู่แถวตอน พลปืนเล็กถือ ปลย.ติดขาทรายเข้าประจำที่เยื้องไปทางขวาของหัวหน้าชุด
ยิงระยะห่างประมาณกี่เมตร
ก. ๕ เมตร ข. ๑๐ เมตร ค. ๑๕ เมตร ง. ๒๕ เมตร
วิชา การเดินการพักแรมและการระวังป้องกัน
๓๒. การเคลื่อนย้ายหน่วยทหาร คือการปฏิบัติอย่างไร
ก. การเคลื่อนย้ายทหารเป็นหน่วยในสถานการณ์รบ
ข. การย้ายหน่วยทหารจากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งเพื่อความปลอดภัย
ค. การเคลื่อนย้ายกำลังทหารเป็นหน่วย ทั้งในสถานการณ์รบ และมิใช่สถานการณ์รบ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
๓๓. การเคลื่อนย้ายทางยุทธวิธีภายใต้สภาพการรบ ไม่ว่าจะปะทะกับข้าศึกทางพื้นดินในไม่ช้า ไม่ว่าจะปะทะ
ในระหว่างทาง หรือไม่ก็ตามรูปขบวนรบ หรือการเดินจะสิ้นสุดลงเมื่อใด
ก. เมื่อมีการปะทะกับข้าศึกทางพื้นดิน หรือเมื่อได้เดินไปถึงตำบลปลายทางแล้ว
ข. เมื่อไม่ปะทะกับข้าศึก ค. เมื่อหยุดเดิน ง. เมื่อมีการระวังป้องกัน
วิชา เหล่าทหารราบ
๓๔. เหล่าทหารที่มีหน้าที่ทำการรบทางพื้นดินซึ่งเป็นเหล่าที่มีหน้าที่สำคัญมาก และเหน็ดเหนื่อยมากที่สุดไม่ว่า
จะเป็นการรบในรูปลักษณะใดก็ตาม โดยทำการรบตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งการต่อสู้ประชิดตัวต่อตัว
เป็นการปฏิบัติการรบของทหารเหล่าใด
ก. เหล่าทหารรบพิเศษ ข. เหล่าทหารจู่โจม
ค. เหล่าทหารราบ ง. เหล่าทหารเสือ
วิชา ทหารม้า
๓๕. อำนาจการยิงภายใต้เกราะกำบัง, อำนาจการทำลายและข่มขวัญ,การติดต่อสื่อสารที่กว้างไกลและอ่อนตัว
ความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่,การตอบสนองคำสั่ง คือ
ก. ภารกิจของทหารม้า ข. ขีดความสามารถของทหารม้า
ค. บทบาทของทหารม้า ง. คุณลักษณะของทหารม้า
วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่
๓๖. ภารกิจของทหารปืนใหญ่สนาม คือ การยิงสนับสนุนแก่หน่วย ดำเนินกลยุทธ์อย่างต่อเนื่อง แม่นยำ ทันเวลา
ด้วยการยิงตัดรอนกำลัง การยิงทำลาย และประสานการยิงสนับสนุนอาวุธยิงทั้งปวง กิจที่สำคัญของทหาร
ปืนใหญ่ มี ๒ อย่างคือ
ก.การยิงสนับสนุนและการประสานการยิง ข. การยิงตัดรอนกำลัง , การยิงทำลาย
ค. การประสานการยิง , การยิงข่ม ง. การยิงทำลาย ,การยิงเตรียม
วิชา เหล่าทหารช่าง
๓๗. ภารกิจของทหารช่างมี ๒ ภารกิจ คือ ๑ ภารกิจมูลฐาน และ
ก. ภารกิจหลัก ข. ภารกิจรอง ค. ภารกิจทั่วไป ง. ภารกิจเฉพาะ
วิชา เหล่าทหารสื่อสาร
๓๘. มัชฌิมการสื่อสารแบ่งตามการใช้งานทางทหารออกเป็นข้อใด
ก. พลนำสาร ไปรษณีย์ สัตว์นำสาร โทรคมนาคม ข. โทรศัพท์ โทรเลข วิทยุ ดาวเทียม
ค. วิทยุ โทรศัพท์ พลนำสาร สัตว์นำสาร ง. พลนำสาร วิทยุ โทรศัพท์ ไปรษณีย์
วิชา เหล่าทหารแพทย์
๓๙. ภารกิจของเหล่าทหารแพทย์ คืออะไร
ก. รักษารวดเร็ว ถูกต้อง ข. อนุรักษ์กำลังรบ
ค. กำลังพลสะดวก สุขสบาย ง. จิตใจเยือกเย็น เป็นกันเอง
วิชา การสงครามพิเศษ
๔๐. ประเภทการสะกดรอย คืออะไร
ก. การสะกดรอยด้วยสายตา ข. การสะกดรอยด้วยการดมกลิ่น
ค. การสะกดรอยด้วยการฟังเสียง ง. ถูกทุกข้อ
๔๑. ลักษณะของการปฏิบัติโดยฉับพลัน มีกี่ลักษณะ
ก. ๕ ลักษณะ ข. ๖ ลักษณะ ค. ๗ ลักษณะ ง. ๘ ลักษณะ
๔๒. ปัจจัยสำคัญของการตีโฉบฉวยคืออะไร
ก. จู่โจม ข. อำนาจการยิง ค. ปฏิบัติการอย่างรุนแรง ง. ถูกทุกข้อ
วิชา พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทย
๔๓. เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงอะไร
ก. เศรษฐกิจแบบซื้อมาขายไป ข. เศรษฐกิจแบบยั่งยืน
ค. เศรษฐกิจใช้ก่อนผ่อนทีหลัง ง. เศรษฐกิจที่อุ้มชูตัวเองให้มีความพอเพียง
๔๔. ความพอเพียง คืออะไร
ก. ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ข. ความขยันหมั่นเพียร
ค. การปรับสภาพให้เข้ากับสังคม ง. การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
วิชา อุดมการณ์ความรักชาติ
๔๕. หัวใจของความมั่นคงของชาติ คือ
ก. ความรัก ข. ความเสียสละ ค. ความสงบสุข ง. ความปรารถนาดี
๔๖. พลังอำนาจของชาติ ประกอบด้วย
ก. การเมืองในประเทศ ข. ด้านแรงงาน
ค. ด้านเศรษฐกิจ ง. การเมืองระหว่างประเทศ
วิชา การพัฒนาสังคมและชุมชน
๔๗. การป้องกันความขัดแย้ง คือ
ก. การสร้างความสามัคคี ข. ไม่สนใจกัน ค. เจรจา ง. เลี่ยงการปะทะ
๔๘. อุปสรรคของการสร้างความสามัคคี คือ
ก. การใช้ความรุนแรง ข. การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว ค. ความไม่เป็นธรรม ง. ถูกทุกข้อ
วิชา การปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน
๔๙. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการทำแผล
ก. ให้แผลสะอาดหายเร็ว ข. ป้องกันการติดเชื้อ
ค. ป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้นกับบาดแผล ง. ช่วยพยุงไม่ให้บาดแผลเคลื่อนไหว
๕๐. ข้อใดไม่ใช่การปฐมพยาบาลผู้ที่มีบาดแผล
ก. ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายเพื่อป้องกันการช็อก ข. อย่าให้ส่วนที่เป็นบาดแผลเคลื่อนไหว
ค. ทำการห้ามเลือด ง. ไม่ต้องทำการปฐมพยาบาล รอจนกว่าถึงมือแพทย์
๕๑. ความหมายของบาดแผลปิด( Closed Wounds )
ก. แผลที่ไม่มีการเปิดออกมาสู่ผิวหนังภายนอก
ข. เกิดจากแรงกระแทกของแข็งที่ไม่มีคม จึงไม่มีบาดแผลขึ้น
ค. มีอาการ ฟก ช้ำ ดำ เขียว
ง. มีการฉีกขาดของผิวหนัง
๕๒. แผลที่มีอวัยวะออกมาภายนอกร่างกายไม่ควรปฏิบัติเช่นใด
ก. อย่าพยายามแตะต้องหรือเอาอวัยวะนั้นกลับเข้าไปในร่างกาย
ข. ให้ผู้ป่วยนอนราบและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายเพื่อป้องกันอาการช็อก
ค. ใช้ถุงพลาสติกติดปิดอวัยวะที่ออกมาภายนอกหรือใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำปิดไว้
ง. หยิบจับอวัยวะนั้นกลับเข้าไปในร่างกาย เพื่อการอุจาดตา
๕๓. การที่มีเลือดออกภายนอกกับเลือดออกภายใน อะไรเป็นอันตรายมากกว่ากัน
ก. เลือดออกภายนอกมีอันตรายมากกว่าเลือดออกภายใน
ข. เลือดออกภายในมีอันตรายมากกว่าเลือดออกภายนอก
ค. ทั้งสองชนิดมีอันตรายมากกว่า ง. ทั้งสองชนิด ไม่มีอันตราย
๕๔. การฉีกขาดของเส้นเลือดแดง เลือดที่ออกมาลักษณะอย่างไร
ก. สีดำคล้ำ มากพอประมาณ ข. สีแดงสด พุ่งตามจังหวะการเต้นของหัวใจ
ค. สีแดงสด ออกมาเล็กน้อย ง. สีดำคล้ำค่อย ๆ ซึมออกมา
๕๕. เมื่อเกิดบาดแผลฟกช้ำดำเขียว ควรทำการปฐมพยาบาลอย่างไร
ก. ใช้น้ำร้อนประคบบริเวณบาดแผลก่อน
ข. ใช้น้ำเย็นประคบบริเวณบาดแผลเพื่อลดอาการปวดบวม
ค. รับประทานยาแก้ปวด แก้อักเสบก่อน
ง. ไปพบแพทย์
๕๖. การที่ส่วนประกอบของกระดูกแตกออกจากกันอย่างสิ้นเชิง หรือยังมีส่วนที่ติดอยู่บ้างเมือกระดูกหัก
ข้อใดไม่เกี่ยวข้อง
ก. เนื้อเยื่อรอบ ๆ กระดูก ข. เส้นเลือด เส้นประสาท
ค. ปอด ง. เส้นเอ็น
วิชา การบรรเทาสาธารณภัย
๕๗. การสันดาป คืออะไร
ก. ปฏิกิริยาเคมีเกิดจากการรวมตัวของเชื้อเพลิงกับออกซิเจน
ข. ปฏิกิริยาเคมีเกิดจากสารเคมีกับเชื่อเพลิง
ค. ปฏิกิริยาเคมีเกิดจากการรวมตัวของเคมีและออกซิเจน
ง. ปฏิกิริยาเคมีเกิดจากการกระจายตัวเชื้อเพลิงและออกซิเจน
๕๘. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของไฟ
ก. เชื้อเพลิง ข. ความร้อน ค. คาร์บอนไดออกไซด์ ง. ออกซิเจน
๕๙ ประเภทของไฟมีกี่ประเภท
ก. ๔ ประเภท ข. ๕ ประเภท ค. ๖ ประเภท ง. ๗ ประเภท
๖๐. ไฟที่เกิดกับโลหะที่ติดไฟได้ใช้อะไรในการดับไฟ
ก. G – ๑ ข. Met – L – X ค. LPG ง. ถูก ก.และ ข.

แนวความรู้ในการเตรียมตัวสอบซ่อมภาคทฤษฎี นศท.ชั้นปีที่ ๕ ชาย

ปีการศึกษา ๒๕๕๕

วิชา การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
๑. การทำแผ่นบริวารมีขั้นตอนในการทำอยู่กี่ขั้น
ก. ๒ ขั้น ข. ๓ ขั้น ค. ๔ ขั้น ง. ๕ ขั้น
๒. การใช้แผ่นบริวารนั้น จะใช้ในลักษณะใด
ก. แจกจ่ายให้กับทหารทุกคน
ข. ไม่แจกจ่ายให้ใครเพราะ ผบ.หน่วยใช้ออกคำสั่ง
ค. แจกจ่ายเป็นเอกสารประกอบคำสั่ง ( ผนวก ประกอบคำสั่ง )
ง. แจกจ่ายเฉพาะในที่ตั้งปกติ
๓. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของแผ่นบริวารได้ถูกต้อง
ก. เป็นแผ่นกระดาษขนาด เอ ๔ ใช้เขียนเครื่องหมายทางทหาร
ข. เป็นแผ่นใสใช้เขียนข้อความเฉพาะตัวหนังสือ
ค. เป็นแผ่นกระดาษใช้เขียนเฉพาะเครื่องหมายทางทหาร
ง. เป็นวัสดุแผ่นใส หรือ ค่อนข้างใส ใช้ลงรายละเอียดการปฏิบัติทางทหาร และทาบบนแผนที่
๔. ระบบ GPS มีส่วนประกอบสำคัญ ๓ ส่วน คือ
ก. ส่วนภาคพื้น , ส่วนอวกาศ , ส่วนผู้ใช้ ข. ส่วนตัว , ส่วนบุคคล , ส่วนอวกาศ
ค. ส่วนอวกาศ , ส่วนผู้ใช้ , ส่วนขยาย ง. ส่วนหัว , ส่วนตัว , ส่วนท้าย
๕. ความมุ่งหมายหลักในการใช้งาน GPS คืออะไร
ก. ใช้แปลงค่าพิกัดแผนที่ ข. ใช้วัดความดันตัวผู้ใช้
ค. ใช้หาพิกัด และ การนำร่องเข้าสู่ตำบลต่าง ๆ ง. ใช้นำร่องเพียงอย่างเดียว
๖. GPS ที่ นศท. ได้ศึกษามาแล้วในบทเรียน ใช้แบตเตอรี่แบบใด และ จำนวนเท่าใด
ก. แบตเตอรี่ขนาด AAA จำนวน ๓ ก้อน ข. แบตเตอรี่ขนาด AA จำนวน ๒ ก้อน
ค. แบตเตอรี่ BA-๓๐ จำนวน ๒ ก้อน ง. แบตเตอรี่ BA-๓๘๖ จำนวน ๓ ก้อน
๗. การเปิด – ปิด เครื่อง GPS ต้องกดปุ่ม เปิด – ปิด ค้างไว้เป็นเวลาเท่าใด
ก. ๕ วินาที ข. ๖ วินาที ค. ๔ วินาที ง. ๒ วินาทึ
๘. เมื่อสัญญาณขาดหาย หน้าจอ GPS จะเปลี่ยนเป็นตำแหน่งใด
ก. ACQUIRE ข. POSITION ค. ON / OFF ง. PRESET
๙. ในโหมด EDIT WAYPOINT ใช้สำหรับทำอะไร
ก. พิมพ์เพิ่มเติมข้อมูล ข. แก้ไขข้อมูล
ค. ใช้สำหรับอ่านค่าพิกัด ง. ใช้สำหรับนำร่อง
๑๐. การดูค่าพิกัดที่บันทึกไว้ เราดูได้จาก FUNCTION ใด
ก. EDIT FUNCTION ข. STORE FUNCTION
ค. STORE POSITION ง. VIEW FUNCTION
๑๑. เราใช้ปุ่มใดในการพิมพ์อักษรภาษาอังกฤษ และ ตัวเลข
ก. UP / DOWN ข. LEFT / RIGHT
ค. ON / OFF ง. COMPASS
๑๒. ปุ่ม WAYPOINT เป็นปุ่มที่ใช้สำหรับทำอะไร
ก. พิมพ์ตัวอักษรเสร็จทุกครั้งต้องกดปุ่มนี้ ข. พิมพ์ตัวเลขเสร็จทุกครั้งต้องกดปุ่มนี้
ค. เป็นปุ่มซึ่งใช้กดเพื่อเข้าสู่ เมนูการใช้งานต่าง ๆ ง. เป็นปุ่มสำหรับปิดเครื่อง
วิชา แบบธรรมเนียมทหาร
๑๓. การใช้กำลังทหารเพื่อการปราบปรามการจลาจลให้เป็นไปตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด โดยความเห็นชอบของ
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ค. คณะรัฐมนตรี ง. กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน
๑๔. ข้อใดมิใช่ส่วนราชการของกระทรวงกลาโหม
ก. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ข. สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ค. กรมราชองค์รักษ์ ง. กองบัญชาการกองทัพไทย
๑๕. การประชุมสภากลาโหมจะมีขึ้นได้ต่อเมื่อมีสมาชิกจำนวนเท่าใดจึงจะเปิดประชุมได้
ก. ๑ ใน ๒ ของสมาชิกทั้งหมด ข. ๑ ใน ๓ ของสมาชิกทั้งหมด
ค. ๑ ใน ๔ ของสมาชิกทั้งหมด ง. ๒ ใน ๓ ของสมาชิกทั้งหมด
๑๖. กรมพระธรรมนูญเป็นส่วนราชการของ
ก. กองทัพบก ข. กองบัญชาการกองทัพไทย
ค. สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ง. สำนักปลัดกระทรวงกลาโหม
วิชา การกำลังสำรอง
๑๗. กำลังพลสำรองพร้อมรบจะต้องเข้ารับการฝึกวิชาทหารหรือทดสอบความพร้อมรบไม่เกิน
ก. ๓ วัน ข. ๕ วัน
ค. ๗ วัน ง. ๑๕ วัน
๑๘. กำลังสำรองนั้นจะต้องเข้ารับการศึกษาอบรมเฉพาะหน้าที่ตามตำแหน่งที่ได้รับบรรจุไม่น้อยกว่า
ก. ๗๕ ชั่วโมง ข. ๘๐ ชั่วโมง
ค. ๘๕ ชั่วโมง ง. ๙๐ ชั่วโมง
๑๙. หน่วยงานใดบ้างที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการฝึก นศท. ในยามปกติ
ก. ร้อย.กทท.พล. ข. พัน.กทท.ทภ.
ค. ศฝ.นศท.มทบ. ง. ศฝ.กทท.ทภ.
๒๐. ความมุ่งหมายของการพัฒนาระบบกำลังสำรองของกองทัพบก คือ
ก. เพื่อพัฒนาเสริมสร้างขีดความสามารถของกำลังสำรอง
ข. สามารถปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับกำลังพลประจำการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ค. สามารถขยายกำลังตามขั้นตอนการใช้กำลังยามสงครามได้อย่างแท้จริง
ง. ถูกทุกข้อ
๒๑. กฎกระทรวง พ.ศ.๒๔๙๙ ว่าด้วยโอกาสในการแต่งเครื่องแบบทหาร ข้อ ๔ พลทหารและ นายทหาร
ประทวนนอกประจำการ สามารถแต่งเครื่องแบบทหารในโอกาสใดได้บ้าง
ก. ได้ทุกโอกาส ข. ถูกเรียกระดมพล
ค. ปีละครั้ง ง. แต่งไม่ได้เลย
๒๒. กฎกระทรวง พ.ศ.๒๔๙๙ ว่าด้วยโอกาสในการแต่งเครื่องแบบทหาร ข้อ ๖ นายทหารสัญญาบัตร
นอกประจำการ สามารถแต่งเครื่องแบบทหารในโอกาสใดได้บ้าง
ก. ได้ทุกโอกาส ข. ถูกเรียกระดมพล
ค. ปีละครั้ง ง. แต่งไม่ได้เลย
วิชา ครูทหาร/ผู้นำ
๒๓. ขั้นตอนแรกในการเตรียมการสอนคืออะไร
ก. การพิจารณาถึงความมุ่งหมายของบทเรียน
ข. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
ค. กำหนดแนวทางการศึกษาในห้องเรียน
ง. ตรวจสอบภูมิปัญญาและระดับความรู้ของผู้เรียน
๒๔. ขั้นตอนแรกในการพิจารณาวิธีดำเนินการสอนคืออะไร
ก. วิธีการและเทคนิค ข. แบ่งขั้นตอนการสอน
ค. จัดให้นักเรียนมีส่วนร่วม ง. จัดลำดับเรื่องที่จะสอน
๒๕. ก่อนการเรียนแต่ละครั้งครูได้บอกหัวข้อที่จะต้องเรียนและเมื่อเรียนแล้วนักเรียนสามารถทำอะไรได้บ้างสิ่งที่
ครูกล่าวถึงนี้อยู่ในหัวข้อใดในเรื่ององค์ประกอบการกล่าวนำ
ก. อธิบายสรุปวิธีดำเนินการสอน ข. ความมุ่งหมายของบทเรียน
ค. เหตุผลในการเรียน ง. ที่กล่าวมาถูกทั้งหมด
๒๖. ข้อต่อไปนี้ข้อใดจัดว่าเป็นเทคนิคย่อๆของการสอนที่ครูผู้สอนจะต้องนำมาใช้ในการสอนนักเรียน
ก. การสอนจากสิ่งที่ยากไปหาง่าย ข. การสอนจากสิ่งที่ไม่รู้ไปหาสิ่งที่รู้
ค. การใช้คำถามในการสอน ง. การสอนจากสิ่งที่ปลีกย่อยไปหาส่วนรวม
๒๗. การที่ครูเตรียมเรื่องที่จะพูดให้ตรงกับความมุ่งหมาย การรู้จักใช้ศิลปะในการพูด แบ่งเรื่องที่สอนออกเป็น
ตอนๆ เมื่อจบตอนหนึ่งแล้วให้นักเรียนได้มีโอกาสซักถามและใช้กระดานดำประกอบการสอน วิธีที่ครู
นำมาใช้นี้เรียกว่าอะไร
ก. ข้อแนะนำในการสอนเชิงบรรยาย ข. ข้อแนะนำในการสอนให้นักเรียนกระทำ
ค. ข้อแนะนำในการสอเชิงสาธิต ง. ข้อแนะนำในการสอนแบบประยุกต์
๒๘. ข้อใดคือลักษณะอันพึงประสงค์ของครูเกี่ยวกับบุคลิกท่าทางของครูในขณะทำการสอนของครูในห้องเรียน
ก. ยืนดัดนิ้ว ข. เอามือเท้ากับแท่นบรรยาย
ค. ไม่ควรยืนนิ่งอยู่กับที่และมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียน ง. ยืนเอามือล้วงกระเป๋าตลอดเวลา
๒๙. แบบหรือวิธีการสอนที่ใช้เป็นหลักในการสอนทางทหารนั้นจำเป็นให้นักเรียนปฏิบัติด้วย ครูต้องรู้เทคนิคการ
สอนต่างๆ และวิธีปฏิบัติที่ทำให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงครูควรใช้การสอนลักษณะใด
ก. สอนแบบสัมมนา ข. สอนแบบสาธิต
ค. การสอนเชิงบรรยาย ง. การสอนเชิงวิเคราะห์
๓๐. เมื่อทหารอยู่ในห้วงอารมณ์แห่งความกลัวจะส่งผลกระทบอย่างไรเมื่อทหารอยู่ในสนามรบ
ก. ระดับความคิดลดน้อยลง ข. ขาดความกล้าหาญ
ค. ระดับความฉลาดลดลง ง. ระดับการใช้เหตุผลลดลง
๓๑. การแตกสลายของหน่วย การสูญเสียจากความพ่ายแพ้ ความขัดแย้งในการสั่งการ การติดต่อสื่อสาร
ผิดพลาดเป็นสภาการณ์ด้านใด
ก. ทางยุทธวิธี ข. ขาดความเป็นผู้นำ
ค. ทางวัตถุ ง. ทางจิตวิทยา
๓๒. สิ่งที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาความกล้าหาญในหน่วยทหารคืออะไร
ก. ฝึกฝนตนเอง ข. ฝึกฝนทหารให้มีความช่ำชอง
ค. บำรุงขวัญกำลังใจเสมอๆ ง. แสดงความเป็นผู้นำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็น
๓๓. สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะแสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็นและเมื่อเขาได้ประจักษ์ในตัวผู้นำแล้วเขายอมปฏิบัติตาม
คำสั่งอย่างไม่บิดพลิ้ว และยอมทำงานด้วยความเต็มใจ จนนำไปซึ่งความสำเร็จของภารกิจสิ่งนั้นคืออะไร
ก. ความซื่อสัตย์ ข. ความรู้
ค. ความกล้าหาญ ง. ความกระตือรือร้น
๓๔. สิ่งใดเป็นสิ่งที่เป็นเครื่องมือทำลายความเชื่อมั่นและก่อให้เกิดความไม่แน่ใจในการรบและทำให้ประสิทธิภาพ
ในการรบลดลง
ก. ความกลัว ข. ความตื่นตระหนกตกใจ
ค. ข่าวลือ ง. ความมีน้ำใจ
วิชา ฝ่ายอำนวยการ
๓๕. การจัดฝ่ายอำนวยการระดับต่าง ๆ หน่วยใดเป็นหน่วยเล็กที่สุด
ก. หมวด ข. กองร้อย ค. กองพัน ง. กรม
๓๖. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในด้านเป็นลูกมือ ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชา ทั้งในด้านการรบและการปกครองหน่วย
เรียกว่าอะไร
ก. ฝ่ายอำนวยการ ข. ผบ.หน่วย
ค. ส่วนสนับสนุน ง. ผิดทุกข้อ
๓๗. หน่วยระดับกองพลขึ้นไป จะบรรจุฝ่ายอำนวยการ เรียกว่าอะไร
ก. ฝ่ายอำนวยการ ข. ฝ่ายเสนาธิการ
ค. ฝ่ายการข่าว ง. ฝ่ายอำนวยการประสานงาน
๓๘. จุดอ่อนของฝ่ายอำนวยการ มีอยู่ ๒ ประการ คืออะไร
ก. สั่งการ, เพิ่มเติม ข. สั่งการ, เตรียมการ
ค. ตกลงใจ, บรรยาย ง. สั่งการ, ตกลงใจ
๓๙. ผู้ที่ทำหน้าที่ ควบคุมฝ่ายอำนวยการระดับกองพันคือใคร
ก. ผบ.พัน. ข. รอง ผบ.พัน.
ค. ผบ.ร้อย. ง. ถูกทุกข้อ
๔๐. สิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๕ ( สป. ๕ ) ได้แก่ สป. ประเภทใด
ก. น้ำ ข. น้ำมัน ค. กระสุน วัตถุระเบิด ง. อาหาร
วิชา การสงครามพิเศษ
๔๑. สาเหตุของการก่อความไม่สงบ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ประชาชนที่ล่อแหลม ข. การชี้นำและการชักนำจากภายนอก
ค. มาตรการควบคุมของรัฐที่เข้มแข็ง ง. ปัจจัยข้างต้นผสมผสานกัน
๔๒. การปฏิบัติการหลักของทหารในการ ปปส. ได้แก่
ก. การข่าวกรอง ข. การปฏิบัติการจิตวิทยา
ค. การปฏิบัติทางยุทธวิธี ง. ถูกทั้งหมด
๔๓. ในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ แบ่งออกเป็นกำหนดการหลัก ๓ ประการ และ
กำหนดการเสริม ๒ ประการ อยากทราบว่ากำหนดการเสริม คือข้อใด
ก. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและช่วยเหลือประชาชน
ข. การพิทักษ์ประชาชนและทรัพยากร
ค. การปราบปรามกองกำลังติดอาวุธ
ง. การปฏิบัติการจิตวิทยา
๔๔. ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการ ปปส. คือ
ก. ใช้กำลังทหาร และ จนท.พิเศษ อื่นๆ ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
ข. ใช้ความรุนแรงและเด็ดขาด
ค. การที่ได้รับข่าวกรองที่ละเอียด ถูกต้อง ทันเวลา
ค. ให้เสรีในการปฏิบัติให้กับระดับ ผบ.หน่วย อยู่ในพื้นที่
๔๕. ความหมายของการปฏิบัติการจิตวิทยา คือ
ก. กำหนดเป้าหมายหรือกลุ่มเป้าหมาย
ข. เป้าหมายเปลี่ยนแปลงท่าทีและพฤติกรรม
ค. กระทำเพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์ของชาติหรือหน่วยทหาร
ง. ถูกทุกข้อ
๔๖. การใช้การโฆษณาชวนเชื่อและกิจกรรมต่างๆ เข้าดำเนินการจัดอยู่ในข้อใด
ก. วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการจิตวิทยา ข. ความสำคัญของการปฏิบัติการจิตวิทยา
ค. คุณลักษณะของการปฏิบัติการจิตวิทยา ง. หัวใจของความสำเร็จในการปฏิบัติการจิตวิทยา
๔๗. การปฏิบัติการจิตวิทยา สงครามนอกแบบ การปฏิบัติมุ่งไปสู่ประชาชนในพื้นที่ เพื่อชักจูงโน้มน้าวจิตใจให้
มาเป็นฝ่ายเราหรือให้เข้าร่วมขบวนการต่อต้านฝ่ายตรงข้ามกระทำในลักษณะปกปิดผู้ปฏิบัติหลักได้แก่
ก. เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ข. เจ้าหน้าที่ของหน่วยรบพิเศษ
ค. ขบวนการต่อต้านในท้องถิ่น ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
๔๘. การปฏิบัติการโดยตรงเป็นการปฏิบัติงานในระยะสั้นๆ ในเรื่องใดบ้าง
ก. การตีโฉบฉวย, ซุ่มโจมตี ข. การวางทุ่นระเบิด
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก ง. ไม่มีข้อถูก
๔๙. ลักษณะการปฏิบัติการจู่โจมด้วยความรุนแรงใช้ห้วงระยะเวลาสั้นๆ แล้วถอนตัวออกอย่างรวดเร็วเป็นการ
ปฏิบัติ ในรูปแบบใด
ก. การปฏิบัติการจิตวิทยา ข. การปฏิบัติการของกองโจร
ค. พลเรือน, ตำรวจ, ทหาร ง. การปฏิบัติการของก่อการร้าย
๕Q. เป้าหมายสุดท้ายของการก่อความไม่สงบของกลุ่มที่มีการจัดตั้งในการล้มล้างรัฐบาล ได้แก่
ก. สร้างความขัดแย้ง ข. ทำลายด้านเศรษฐกิจ
ค. การยึดอำนาจ ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูก
๕๑. การก่อความไม่สงบ ใช้วิธีการหลายรูปแบบแต่ฐานการสนับสนุนที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งมาจากอะไร
ก. ทหาร ข. กึ่งทหาร
ค. เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ง. ประชาชน
๕๒. การจัดตั้งข่ายการปฏิบัติการด้านข่าวกรองของหน่วยรบพิเศษ ในพื้นที่ต่าง ๆ จะเป็นข่าวประเภทใด
ก. ข่าวกรองการรบ ข. ข่าวสารทางทหาร
ค. ข่าวกรองยุทธศาสตร์ ง. ข่าวลับและข่าวเปิด
วิชา อาวุธ (ปืนพก ๘๖)
๕๓. ปืนพก ๘๖ ทำการยิงเป็นกึ่งอัตโนมัติ เป็นอาวุธประจำกายของพลยิงอาวุธประจำหน่วย ป้อนกระสุน
ด้วยซองกระสุนซึ่งบรรจุได้ กี่นัด
ก. ๑๐ นัด ข. ๙ นัด
ค. ๗ นัด ง. ๑๕
๕๔. ข้อที่แตกต่างกันของปืนพก ๘๖ ทั้ง ๒ แบบ คือ แบบเก่าและแบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้คล่องตัวในการ
ใช้งาน มีกี่ประการ
ก. ๓ ประการ ข. ๔ ประการ
ค. ๕ ประการ ง. ๖ ประการ
๕๕. ปืนพก ๘๖ ป้อนกระสุนด้วยซองกระสุน ทำการยิงกึ่งอัตโนมัติหรือยิงทีละนัด มีระยะยิงหวังผลเท่าไร
ก. ๑๐๐ เมตร ข. ๘๐ เมตร
ค. ๕๐ เมตร ง. ๑๕ เมตร
๕๖. ปืนพก ๘๖ ถอดประกอบเพื่อทำความสะอาดในหน้าที่ของผู้ใช้อาวุธและหน้าที่ของช่างอาวุธประจำหน่วย
ได้กี่ชิ้นส่วน
ก. ๕ ชิ้นส่วน ข. ๖ ชิ้นส่วน
ค. ๔ ชิ้นส่วน ง. ๙ ชิ้นส่วน
วิชา อุดมการณ์ความรักชาติ
๕๗. ลักษณะการแสดงออกซึ่งการรักประเทศไทยด้วยการปฏิบัติอย่างไร
ก. หวงแหนถิ่นฐานบ้านเมืองถือว่าเราเป็นเจ้าของประเทศ
ข. ช่วยป้องกันรักษาประเทศให้ปลอดภัย
ค. ช่วยบำรุงให้ประเทศเจริญรุ่งเรือง
ง. ถูกทุกข้อ
๕๘. การที่ชาติไทยยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาตินั้น มีเหตุผลอะไรสำคัญมากที่สุด
ก. มีคำสอนสอดคล้องกับแนวนิยมในความรู้สึกนึกคิดเป็นอย่างดี
ข. มีความศรัทธาเลื่อมใสในศาสนา
ค. มีคำสอนที่มีเหตุผลพิสูจน์ได้เป็นวิทยาศาสตร์
ง. มีความรู้ความเข้าใจพอที่จะยึดเป็นหลักแห่งความประพฤติได้
๕๙. วัฒนธรรม หมายถึงสิ่งใด
ก. ลักษณะแสดงความนิยมชมชอบในสังคม
ข. สิ่งที่สืบเนื่องมาจากบรรพกาลนับถือสืบต่อกันมา
ค. ลักษณะถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
ง. ผลงานสร้างสรรค์อันเป็นมรดกตกทอดกันมาในสังคม
๖๐. คำว่า “ชาติไทย” หมายถึงคนไทยทั้งหมดรวมกันและคำว่า “คนไทย” อาจแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ก. ๒ ประเภท ข. ๓ ประเภท
ค. ๔ ประเภท ง. ๕ ประเภท































































































































































































































































































































































































































































 















































































































































 






















































































 











































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































จำ รวม หมายเหตุ



นวน












































































๑๒





































































๑๐




















๑๕




















๓๑



























๒๖






๒๐๘












































๑๖


































๑๙






๑๐

































































































๑๐๔





๕๓









































๑๖




















๒๐ ๑๐๘

























































๑๔






๑๑













๑๓













๑๐



























๑๓






๑๗



















































































๑๗













๒๐






๑๔




















๒๐๘























































๑๕






๑๑


































๑๑




















๑๒
















































๑๘




















๑๕






๑๓






























































๒๐๘























































๑๐






๑๔




































































































































๑๕












































































๑๑






๑๒
































































๒๑๐


























๑๑






๑๖




















๑๑









































๑๓









































๑๒























































๑๑






๒๑
































































๒๐๙





๑๔






๒๑






๓๑




















๑๒






๑๖




















๑๐๖















































๑๑


































๒๐






๑๔ ๑๐๖





































































๑๘






๒๕






๑๓













๑๑



























๑๒



























๒๐









































๑๑




















๑๔






๑๓













๒๔ ๒๑๓
















































































































































๒๐













๑๖


































๒๓













๑๒




















๑๔๖







































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































 








































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































 


















































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































 















































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































ช่วงนี้ใกล้สอบภาคทฤษฎีแล้วนะครับ ปีนี้ตรงกับวันอาทิตย์ที่ 25 พ.ย.55 และเก็บตกในวันอาทิตย์ที่ 2 ธ.ค.55 ช่วงนี้ อาจารย์ผู้กำกับแต่ล่ะสถานศึกษาต้องเข้ามารับตารางการจัด นศท.เข้าสอบตามศูนย์สอบต่าง ๆๆ ที่ แผนก ประเมินผลโรงเรียนรักษาดินแดน น้อง ๆๆ นศท. สอบถาม อาจารย์ ผกท.ได้เลยครับว่าผมสอบศูนย์ไหน ต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ถ้า อาจารย์ผู้กำกับ แจ้งว่าไม่ทราบให้บอกอาจารย์ให้เข้ามารับศูนย์สอบที่ แผนก ปส.ได้เลยครับ                
                                                                                                     6 พ.ย.55

                                               **********
  สวัสดีครับ น้อง ๆๆ นศท.ทุกคนครับ นี้ก่อนผ่านมาแล้ว 10 สัปดาห์แล้วนะครับ นั้นหมายความว่า นศท.ใกล้จะสอบ ภาคปฏิบัติ และสอบภาคทฤษฎีรวมถึงการไปภาคสนามกันแล้วนะครับ วันนี้มีข่าวฝาก  คับ
             ข่าวที่ 1 คือ ปี 2 ต้องไปภาคสนามที่เขาชนไก่นะครับ ส่วนปีที่แล้วไม่ได้ไป ก็ขอแสดงความดีใจด้วยครับ
             ข่าวที่ 2 คือ น้อง ๆๆ นศท.ทุกชั้นปีต้องเรียน ครบ 80 ชั่วโมงนะครับ ถ้าไม่ครบจะไม่ได้สอบภาคปฏิบัติ ภาคทฤษฎีนะครับ พูดง่าย ๆๆ คือ ไม่ผ่านอย่างใดอย่างหนึ่งตกแน่นอนครับ เพราะฉนั้นเมื่อเรารู้ตัวว่าขาดเรียนให้รีบประสานกับอาจารย์ผู้กำกับเพื่อขอมาเรียนชดเชย ครับ
             ข่าวที่ 3 คือ ก่อนไปภาคสนาม น้อง ๆๆ นศท.ต้องมีการเทสร่างกายก่อนไปสนามนะครับ ไม่ผ่านการเทสก็ไม่สามารถไปสนามได้นะครับ ก็ตกซ้ำชั้นอีกเช่นเคย
                                                                                                       13 ก.ย.55                                    
                                             **********            
สวัสดีครับ สำหรับ นศท.ชั้นปีที่ 1 ใหม่ และรุ่นพี่ ปี 2 ถึงปี 5 ปีการศึกษานี้มีการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนเยอะมากเลยครับ ข้อมูลแรกก็คือ นศท.ต้องเรียนครบ 20  สัปดาห์ หรือ 80  ชม. จะขาด1 หรือ 2 ชม.ก็ไม่ได้ นะครับ ไม่เช่นนั้นไม่จบนะครับ ในกรณีที่ขาดเรียนก็ต้องมีใบลา และมาเรียนชดเชย พูดง่ายๆๆๆ ว่าชั่วโมงเรียนต้อง 100 % ครับ สงสัยอะไรให้ถามครูผู้สอนได้ครับ (ประกาศเมื่อวันที่ 10 ก.ค.55)
                                            **********
             สวัสดีครับ  ก่อนอื่นขอแสดงความยินดีกับ นศท.ใหม่ชั้นปีที่ 1 ที่ผ่านการทดสอบและได้รายงานตัวเข้าเรียน  รวมถึง นศท.ในชั้นปีอื่น ๆๆ ด้วยนะครับ แต่ก็ขอแสดงความเสียใจกับ น้อง ๆๆ อีกหลายคนที่ไม่ได้เข้าเรียน รวมถึงไม่ได้เลื่อนชั้นปี จะด้วยเหตุผลประการใดก็แล้วแต่ ปีหน้าฟ้าใหม่ยังไม่สายครับ ที่จะเรียนขอเพียงอย่าท้อ อย่าหมดหวัง สู้ สู้ ครับ
                                                                                        20  มิ.ย.55
                                              *********
             เริ่มไปสนามกันแล้วนะครับสำหรับ นศท.ชั้นปีที่ 3,4,5 ชาย,หญิง   เมื่อวันจันทร์ที่ 9 มกราคม 55 ที่ผ่านมา  
             แต่ถ้า นศท.ไปขึ้นรถแล้วครูไม่ให้ขึ้นรถ โดยบอกว่าเราขาดสอบปฏิบัติ หรือบอกว่าเราขาดสอบซ่อม ขาดสอบทฤษฎี แต่ตัว นศท.มั่นใจว่าตัวเองทำทุกอย่างครบแล้ว อาจเกิดการผิดพลาดอะไรสักอย่าง ให้ นศท.รีบกลับมาติดต่อที่ แผนก ปส.รร.รด.ศสร. เพื่อตรวจสอบให้ถูกต้องแน่นอน แล้วตัว นศท.ค่อยย้ายผลัดเปลี่ยนผลัดใหม่นะครับ นศท.  อย่าปล่อยไว้นาน ให้รีบมาติดต่้อโดยเร็ว  ขอให้ฝึกจบลอดภัยกันทุกคนครับ                      
                                              *********           
                                                                                                                                     การขอรับหนังสือรับรอง
ติดต่อขอรับได้ที่ ผปส.รร.รด.ศสร.อยู่ด้านซ้ายของเสาธง  (เมื่อหันหน้าเข้าอาคาร) 02 2770474 ครับ
ผู้ที่จะัมาขอ ต้องแต่งกายสุภาพไม่สวมกางเกงขาสั้น  ไม่สวมรองเท้าแตะ ไม่จำเป็นต้องแต่งชุด นศท.มาขอครับ  ติดต่อในวันเวลาราชการครับ 0800  -  1600 น. (เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ ขอไม่ได้)
ผู้อื่นสามารถมาขอรับแทนได้ครับ  แต่ต้องรู้ข้อมูลของผู้ที่จะขอให้ คือ
1.ชื่อสกุลที่ถูกต้อง
2.เลขประจำตัว นศท.
3.ชื่อสถานศึกษา  จว.ที่ตั้ง ในขณะที่เรียนอยู่ในชั้นปีที่ขอ
แล้วมากรอกคำร้อง ครับ  แล้วรอประมาณ 10  นาทีก็เรียบร้อยครับ
ข้อจำกัดของหนังสือรับรอง
1.ใช้ได้ 90 วัน
2.ใช้ในการสมัครงาน
3.สมัครเรียนต่อ ขอรับการผ่อนผัน (ขึ้นอยู่กัีบแผนกที่เกี่ยวข้อง กกพ.ศสร.ครับว่าจะไม่รับคำร้องเมื่อไร) โทรถามครับตามเบอร์ที่ให้ไว้
แต่ไม่สามารถนำไปยื่นต่อสัสดีได้ครับ ต้องใช้หนังสือสำคัญแทน
            *****  แล้ววันจันทร์ที่ 1  ส.ค.54 ผมจะนำข้อมูลเรื่องการขอรับหนังสือสำคัญมาคุยให้ฟัง****  ขอบคุณครับที่ติดตาม